ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยAtchara Supasawat ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
การวิเคราะห์แบบลูป ตอนที่ ๑ การวิเคราะห์ลูปแบบทั่วไป
ตอนที่ ๒ การวิเคราะห์ลูปแบบเป็นรูปแบบ
2
การวิเคราะห์ลูป (Loop Analysis) เรื่องการวิเคราะห์บรานซ์
การใช้กฎของเคอร์ชอฟฟ์ ที่เรียกว่า การวิเคราะห์บรานซ์ กำหนดกระแสที่มีทิศทางในแต่ละบรานซ์ของวงจรไฟฟ้า กำหนดทิศทางกระแสไหลในแต่ละบรานซ์ ระบุขั้วไฟฟ้าของตัวต้านทานแต่ละตัวตามทิศทางของกระแสไหลในแต่ละบรานซ์ เขียนสมการโดยใช้กฎแรงดันของเคอร์ชอฟฟ์ในแต่ละลูปปิดอิสระ ใช้กฎกระแสของเคอร์ชอฟฟ์ให้มีจำนวนโนดน้อยที่สุด หากระแสในแต่ละบรานซ์โดยใช้ดีเทอร์มิแนนต์
3
รูปที่ 8.18 การหาจำนวนลูปปิดอิสระของวงจรไฟฟ้า
จะเขียนสมการตามกฎแรงดันของเคอร์ชอฟฟ์ในแต่ละลูปปิดอิสระ
5
ตัวอย่างที่ 8.12 จงประยุกต์ใช้วิธีการวิเคราะห์บรานซ์ จากวงจรต่อไปนี้
6
วิธีทำ ขั้นที่ 1 กำหนดทิศทางกระแสไหลในแต่ละบรานซ์ ขั้นที่ 2 ระบุขั้วไฟฟ้าตัวต้านทานแต่ละตัวให้สอดคล้องกับทิศทางกระแส
7
ขั้นที่ 3 ใช้กฎแรงดันของเคอร์ชอฟฟ์เพื่อเขียนสมการ
ขั้นตอนที่ 4 ใช้กฎกระแสของเคอร์ชอฟฟ์ที่โนด a จะได้
8
ขั้นตอนที่ 5 เขียนสมการเชิงเส้น จากแต่ละลูป หาค่ากระแสด้วยดีเทอร์มิแนนต์
10
การแก้ปัญหาโดยการใช้สมการเพียง 2 สมการ ดังนี้
11
การวิเคราะห์ลูปทั่วไป (General Approach Loop Analysis)
นิยมใช้กันมาก สามารถลดขั้นตอนการแทนผลของการใช้กฎกระแสของเคอร์ชอฟฟ์ลงไปในสมการที่ได้จากกฎแรงดันของเคอร์ชอฟฟ์ (I1 + I2 = I3) เป็นการวิเคราะห์โดยใช้กฎแรงดันของเคอร์ชอฟฟ์เพื่อสร้างสมการพีชคณิตในแต่ละลูปปิดอิสระ (ในลูปปิดใดๆ ผลรวมของแรงดันมีค่าเท่ากับศูนย์)
12
ขั้นตอนในการวิเคราะห์ลูปแบบทั่วไป มีดังนี้
ขั้นที่ 1 กำหนดกระแสลูป (I1 และ I2) ในทิศทางตามเข็มนาฬิกา ขั้นที่ 2 ระบุขั้วไฟฟ้าตัวต้านทานแต่ละตัวตามทิศทางของกระแสลูป ขั้นที่ 3 เขียนสมการโดยใช้กฎแรงดันของเคอร์ชอฟฟ์ในแต่ละลูป ทิศทางตามเข็มนาฬิกา ขั้นที่ 4 หาค่ากระแสลูปด้วยการแก้ปัญหาสมการพีชคณิตเชิงเส้น
13
ตัวอย่างที่ 8.14 จงหาค่ากระแสไหลผ่านตัวต้านทาน 4
14
ตัวอย่างที่ 8.14 จงหาค่ากระแสไหลผ่านตัวต้านทาน 4
วิธีทำ
20
การวิเคราะห์ลูปชนิดเป็นรูปแบบ
กำหนดกระแสลูปในแต่ละลูปปิดในทิศทางตามเข็มนาฬิกา การสร้างสมการจะมีจำนวนสมการเท่ากับจำนวนลูปปิดที่ได้กำหนดไว้ โดยคอลัมน์ที่ 1 ของแต่ละสมการคือผลรวมของค่าความต้านทานที่กระแสในลูปนั้นไหลผ่านคูณกับกระแสของลูปนั้น คอลัมน์ต่อๆ ไปเป็นการพิจารณาเทอมร่วม นั่นคือเทอมของตัวต้านทานที่มีกระแสลูปมากกว่าหนึ่งลูปไหลผ่านและมีความเป็นไปได้ที่จะมีเทอมร่วมมากกว่าหนึ่งเทอม เทอมร่วมแต่ละเทอมจะเป็นผลคูณระหว่างค่าความต้านทานของตัวต้านทานร่วมกับกระแสลูปอื่นๆ ที่ไหลผ่านมันและค่าจะเป็นลบเสมอ คอลัมน์ทางขวามือของเครื่องหมายเท่ากับคือผลรวมทางพีชคณิตของแหล่งจ่ายแรงดันที่แต่ละลูปไหลผ่าน แก้ปัญหาสมการพีชคณิตเชิงเส้นเพื่อหาค่ากระแสตามที่ต้องการ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.