ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยKhakkhanang Phya ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
ระบบวิทยุ (Radio System) 252442 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธราดล โกมลมิศร์
บทที่ 1 บทนำ ระบบวิทยุ (Radio System) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธราดล โกมลมิศร์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Tharadol Komolmis
2
Contents การสื่อสาร สารสนเทศ ข่าวสาร ข้อมูล และสัญญาณ
ประวัติการสื่อสารโทรคมนาคม องค์ประกอบและข้อจำกัด วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร การสื่อสารวิทยุและระบบวิทยุ การสื่อสารแบบอนาลอกและแบบดิจิตอล Signal Representation จากบิตข้อมูลที่ได้จาการเข้ารหัส เมื่อจะส่งไปในช่องสัญญาณจะต้องมีการแทนบิตข้อมูลเหล่านั้นด้วยสัญญาณ ทางไฟฟ้าเพื่อให้ทางด้านรับแยกแยะได้ว่าบิตข้อมูล “0”หรือ “1” ถูกส่งมา ฉนั้นสัญญาณที่ใช้ในการแทนบิตข้อมูลนั้นจะต้องมีความแตกต่างกันอย่างชัดเจนเพื่อไม่ให้ทางด้านรับตีความผิดพลาดได้ Signal Reception ทางด้านรับเมื่อรับสัญญาณที่ส่งมาจากทางด้านส่งได้แล้วจะต้องตีความกลับไปเป็น บิตข้อมูลให้ถูกต้องตามที่ด้านส่งได้ส่งมา Tharadol Komolmis Tharadol Komolmis
3
การสื่อสาร การสื่อสาร (Communication) เป็นการขนส่ง (Transport) การส่งผ่าน (Transmission) หรือ การลำเลียง (Convey) สารสนเทศ (Information) จากแหล่งกำเนิด (Source) ของสารสนเทศนั้นไปสู่จุดหมายปลายทาง (Destination) ที่มีระยะทางห่างออกไปจากแหล่งกำเนิด Tharadol Komolmis
4
การสื่อสาร สื่อสารทางไฟฟ้า (Electrical Communication ) ซึ่งเป็นการสื่อสารที่อาศัยพลังงานไฟฟ้าเป็นพาหะในการลำเลียงข่าวสารหรือสารสนเทศที่ต้องการส่งไปให้ถึงผู้รับได้อย่างถูกต้อง Tharadol Komolmis
5
สารสนเทศ ข่าวสาร ข้อมูล และสัญญาณ
สารสนเทศ (Information) เป็นหัวใจสำคัญของการสื่อสาร เป็นสิ่งที่ผู้ส่งต้องการส่งไปให้ถึงผู้รับ ใช้แสดงความหมายและความรู้สึกในเชิงปรัชญาที่ยากแก่การนิยาม โดยทั่วไปแล้ว มักอยู่ในลักษณะของนามธรรมที่ขึ้นอยู่กับความเข้าใจและการตีความของแต่ละบุคคล สารสนเทศหนึ่ง อาจถูกตีความหรือแปลความหมายได้หลายอย่างแตกต่างกันออกไป ในบางกรณี สารสนเทศสามารถนิยามว่า เป็นข้อมูลข่าวสารชนิดหนึ่งที่ไม่สามารถคาดเดาได้ล่วงหน้า (ตามหลักทฤษฎีสารสนเทศ) หรืออีกนัยหนึ่งอาจกล่าวได้ว่า ข้อมูลข่าวสารที่สามารถคาดเดาล่วงหน้าได้ไม่มีสารสนเทศอยู่ในข่าวสารนั้นเลย Tharadol Komolmis
6
สารสนเทศ ข่าวสาร ข้อมูล และสัญญาณ
ข่าวสาร หรือ ข้อมูล (message, data) สามารถนิยามได้เป็น สิ่งที่ใช้แทนสารสนเทศในเชิงรูปธรรมที่ผลิตขึ้นมาจากแหล่งกำเนิดใดๆ และเป็นสิ่งที่ผู้ส่งไปให้ถึงผู้รับด้วยวิธีการใดก็ตาม แล้วผู้รับสามารถที่จะรับและถอดแบบออกมาเป็นข่าวสารที่เหมือนกับข่าวสารที่ผู้ส่งได้ส่งออกมา โดยไม่คำนึงถึงความหมายหรือความรู้สึกต่างๆ ที่บรรจุอยู่ในข่าวสารหรือข้อมูลนั้น Tharadol Komolmis
7
สารสนเทศ ข่าวสาร ข้อมูล และสัญญาณ
สัญญาณ (Signal) เป็นสิ่งที่อยู่ในรูปแบบทางกายภาพต่างๆ ถูกใช้เป็นตัวแทนของสารสนเทศหรือข่าวสารที่ต้องการส่ง เช่น สัญญาณเสียง สัญญาณแสง หรือสัญญาณไฟฟ้า เป็นต้น สำหรับในระบบการสื่อสารด้วยไฟฟ้าสัญญาณที่ใช้กันในทางไฟฟ้าเป็นหลัก ซึ่งอาจรวมความไปถึงสัญญาณแม่เหล็กไฟฟ้าด้วย สัญญาณที่ใช้กันในทางไฟฟ้าสื่อสารสามารถแบ่งออกได้เป็นสองประเภทหลัก ได้แก่ สัญญาณอนาลอกและสัญญาณดิจิตอล Tharadol Komolmis
8
ประวัติการสื่อสารโทรคมนาคม
Inventors Period of Time Inventions George Lesage Telegraph System Volta Invented Battery Sir Francis Ronalds 1816 Superior Single Wire Electrostatic Telegraph James Clerk Maxwell Electromagnetic Theory Cooke & Wheatstone 1837 Five-Needle Telegraph (sane time of rail ways) Heinrich Rudolf Hertz Electromagnetic Wave Propagation Through Space Guglielmo Marconi Spark-Gap Transmitter (Coherer) Alexander Graham Bell 1876 Patented Telephone (3 hours before Elisha Gray) Almon Brown Strowger 1891 Patented Automatic Telephone Exchanger Guglielmo Marconi 1900 Specific Frequency Transmission (Syntonec System) Marconi Company 23 Feb 1920 First Public Radio Broadcast Dedicated to News John Bardeen, Walter Brattain& William Shockley 1947 First Transistor at Bell Telephone Laboratories and then Nobel Prize for Physics in 1956 Tharadol Komolmis
9
ประวัติการสื่อสารโทรคมนาคม
Inventors Period of Time Inventions BBC Nov First Television Broadcasting System John Bardeen, First Transistor at Bell Telephone Walter Brattain& Laboratories and then Nobel Prize William Shockley for Physics in 1956 1950 Private Mobile Radio and Paging Systems 11 July 1962 Telstar Satellite (First Live Pictures Transmitter by Satellite) 1977 First Fiber Optic Link 1980 Integrated Circuits and Computer Technology allowed Mobile Radio to Develop Rapidly 1990s International and Digital Systems Developing Tharadol Komolmis
10
องค์ประกอบและข้อจำกัด
ผู้ส่ง หรือ เครื่องส่ง (Transmitter) ผู้รับ หรือ เครื่องรับ (Receiver) ระบบช่องทางการสื่อสาร (Communication Channel System) ขนาดความกว้างของช่องสัญญาณ (Bandwidth) การลดทอนสัญญาณ (Attenuation) สัญญาณรบกวน (Noise) การแทรกสอด (Interference) ความเพี้ยน (Distortion) Tharadol Komolmis
11
วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร
ออกแบบและการวางแผน (Design and Planning)/การสร้างและการผลิต (Construction and Production) /การใช้งานและการบำรุงรักษา (Operation and Maintenance) งานวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารเป็นงานที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับงานทางอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ อุปกรณ์แปลงสัญญาณ (Transducer) วงจรแกว่ง (Oscillators) วงจรขยายสัญญาณ (Amplifiers) วงจรกรองสัญญาณ (Filters) วงจรผสมสัญญาณและแยกสัญญาณ (Modulators and Demodulators) วงจรเข้ารหัสและวงจรถอดรหัส (Encoding and Decoding) สายอากาศ (Antenna) วงจรจ่ายกำลังไฟฟ้า (Power Supply) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เรื่องคุณสมบัติและความสามารถในการแพร่กระจายคลื่น Tharadol Komolmis
12
การสื่อสารวิทยุและระบบวิทยุ
การสื่อสารวิทยุ (Radio Communication) โดยปกติจะหมายถึง ระบบการสื่อสารใดๆ ก็ตามที่อาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นพาหะในการพาข่าวสารจากผู้ส่งไปให้ถึงผู้รับ ดังนั้น การสื่อสารวิทยุจึงสามารถรวมไปถึง ระบบวิทยุโทรศัพท์ ระบบโทรทัศน์ หรือระบบสื่อสารดาวเทียม (Satellite Communication) ระบบวิทยุ (Radio Systems) ซึ่งโดยทั่วไปแล้ว หมายถึง การส่งสัญญาณเสียง (Sound) ผ่านอากาศโดยอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นคลื่นพาห์เท่านั้น Tharadol Komolmis
13
การสื่อสารแบบอนาลอกและแบบดิจิตอล
ในทางการสื่อสารแบบอนาลอก (Analog Communication) จะเน้นในเรื่องของ ความชัดเจนสูง (High Fidelity) สำหรับในกรณีของระบบการสื่อสารแบบดิจิตอล (Digital Communication) จะเน้นในเรื่อง ของความถูกต้องแม่นยำ (Accuracy) Tharadol Komolmis
14
ความถี่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
แถบความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า Frequency (Hz) 3000 km km m 3 m cm mm 3 mm nm nm 3 pm pm Wavelength Standard broadcast Far infrared Infrared Optical Communication Visible light Ultraviolet X-rays Gamma rays Cosmic rays Millimeter wave Microwave UHF VHF Short wave Long wave Tharadol Komolmis
15
การสื่อสารแบบอนาลอกและแบบดิจิตอล
ในทางการสื่อสารแบบอนาลอก (Analog Communication) จะเน้นในเรื่องของ ความชัดเจนสูง (High Fidelity) สำหรับในกรณีของระบบการสื่อสารแบบดิจิตอล (Digital Communication) จะเน้นในเรื่อง ของความถูกต้องแม่นยำ (Accuracy) Tharadol Komolmis
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.