งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

อาหารภาคเหนือ เสนอ อ.ปริสา หนูอินทร์ จัดทำโดย นาย.รัฐธรรมนูญ เลขที่.2

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "อาหารภาคเหนือ เสนอ อ.ปริสา หนูอินทร์ จัดทำโดย นาย.รัฐธรรมนูญ เลขที่.2"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 อาหารภาคเหนือ เสนอ อ.ปริสา หนูอินทร์ จัดทำโดย นาย.รัฐธรรมนูญ เลขที่.2

2   เครื่องปรุง เนื้อหมูสันนอก 1         กิโลกรัม หมูสามชั้น 500    กรัม ซีอิ๊วดำ 1 ช้อนโต๊ะ น้ำ 4        ถ้วย กระเทียมปอกเปลือก 1/4     ถ้วย ขิงสดหั่นเป็นเส้นบาง 1/4     ถ้วย น้ำมะขามเปียก  ช้อนโต๊ะ ผงแกงฮังเล หรือผงกะหรี่ 1       ช้อนโต๊ะ                                                                                      เครื่องแกง พริกแห้ง 5 เม็ด ข่าหั่นละเอียด 1       ช้อนชา ตะไคร้หั่นบาง 1       ช้อนโต๊ะ กระเทียมปอกเปลือกหั่นเล็ก 1       ช้อนโต๊ะ หอมแดงปอกเปลือกหั่นบาง 2       ช้อนโต๊ะ กะปิ เกลือป่น อย่างละ 1       ช้อนชา โขลกเครื่องแกงทั้งหมดรวมกันให้ละเอียด                                                                                                วิธีทำ 1. หั่นหมูทั้งสองอย่างเป็นชิ้นสี่เหลี่ยม 2 x 2นิ้ว เคล้าด้วยซีอิ๊วดำหมักไว้ 2. เคล้าเครื่องแกงกับหมูเข้าด้วยกัน หมักไว้ประมาณ 1 ชั่งโมง 3. ใส่หมูลงในหม้อ ใช้ไฟอ่อน ๆ ผัดพอหมูตึงตัว ใส่น้ำลงในหม้อ ปิดฝา ตั้งเคี่ยวไปเรื่อย ๆ 4. ใส่ขิงซอย กระเทียมที่ปอกเปลือกเป็นกลีบ ใส่ผงแกงฮังเลหรือผงกะหรี่ ตั้งเคี่ยวจนหมูนุ่ม และน้ำงวด 5. ปรุงรสด้วยน้ำมะขามเปียก ชิมรสให้ได้ 3 รส เปรี้ยว เค็ม เผ็ด ถ้าอ่อนเค็มให้เติมเกลือ  

3 แกงแคไก่              เครื่องปรุง ผักเผ็ดเด็ดสั้น ๆ 2 1/2 ถ้วย ชะอมเด็ดสั้น ๆ 1       ถ้วย ใบชะพลู (ผักแค) หั่นหยาบ 1       ถ้วย กะเพราขาวเด็ดเป็นใบ 1/2    ถ้วย ตำลึงเด็ดเป็นใบ 1 ถ้วย ไก่หั่นบาง 2       ถ้วย ผักชีฝรั่งหั่นหยาบ 1/4    ถ้วย ผักขี้หูด 1/2 ถ้วย ใบพริก 1/4    ถ้วย มะเขือเปราะ 6 ลูก บวบ 2       ลูก หน่อไม้หั่นพอคำ 1/2    ถ้วย ถั่วฝักยาว 5 ฝัก มะเขือพวง 1/2    ถ้วย น้ำมัน 3 ช้อนโต๊ะ น้ำ 3       ถ้วย                                                                       เครื่องแกง พริกแห้ง           7 เม็ด   ตะไคร้          1 ต้น กระเทียม        1 หัว หอมแดง       3 หัว ปลาร้า           1/2 ช้อนโต๊ะ กะปิ              1 ช้อนโต๊ะ เกลือป่น           1 ช้อนชา   โขลกเครื่องแกงทั้งหมดรวมกันให้ละเอียด                                                                          วิธีทำ 1. ปอกเปลือกบวบ หั่นชิ้นพอคำ ล้างมะเขือเปราะ ผ่าสี่ ล้างถั่วฝักยาวหั่นท่อนสั้น 2. ตั้งกระทะให้ร้อน ใส่ไก่ รวนให้สุก หอม ตักขึ้น พักไว้ 3. ใส่น้ำมันลงในกระทะ ตั้งไฟให้ร้อน ใส่เครื่องแกงลงผัดให้หอม ใส่ไก่ หน่อไม้ ผัดให้เข้ากัน      

4 แกงโฮะ เครื่องปรุง แกงเผ็ด 2 ถ้วย 2 ถ้วย แกงฮังเล แหนมหม้อ ยีให้กระจาย
แกงโฮะ เครื่องปรุง แกงเผ็ด 2 ถ้วย 2    ถ้วย แกงฮังเล แหนมหม้อ ยีให้กระจาย หน่อไม้ดองต้ม แคมหมู ตัดเป็นชิ้นเล็กๆ วุ้นเส้นตัดสั้น ใบมะกรูดฉีก 1/2 ถ้วย ตำลึง ตะไคร้หั่นฝอย 1    ถ้วย พริกขี้หนูสด 2    ช้อนโต๊ะ กระเทียมสับ 3    ช้อนโต๊ะ น้ำมันพืช วิธีทำ 1. กะทะตั้งไฟ ใส่น้ำมันพอร้อน 2. ใส่กระเทียมสับเจียวให้หอม 3. ใส่เครื่องทั้งหมดลงผัดจนน้ำมันแห้ง 4. ใส่วุ้นเส้น 5. ปรุงรสด้วยมะนาว น้ำปลา ตามชอบ

5 ขนมจีนน้ำเงี้ยว เครื่องปรุง
ขนมจีนน้ำเงี้ยว เครื่องปรุง ซี่โครงหมู ตัดเป็นชิ้น 1x1 นิ้ว (ต้มให้นุ่ม) 1/2 กิโลกรัม เลือดหมู หั่นสี่เหลี่ยม 1/2x1/2 นิ้ว มะเขือเทศลูกเล็ก ผ่าครึ่ง เกลือ 2 ช้อนโต๊ะ น้ำมันพืช น้ำซุป (น้ำต้มกระดูกหมู กรองเอาเฉพาะน้ำ) 6 ถ้วย เครื่องแกง พริกแห้ง 7 เม็ด รากผักชีหั่นฝอย 1 ช้อนชา ข่าหั่นละเอียด ตะไคร้ซอย 2 ช้อนชา กะปิ หอมแดง 7 หัว กระเทียม 3 หัว เครื่องเคียง ผักกาดดองหั่น ถั่วงอก ต้นหอม ผักชีซอย กระเทียมเจียว พริกทอด วิธีทำ 1 โขลกเครื่องแกงให้ละเอียด นำลงผัดในน้ำมันพืช พอหอม ใส่หมูสับ 2 เทลงในหม้อน้ำต้มกระดูกหมู ใส่ซี่โครงหมู แล้วใส่เลือดหมู และมะเขือเทศ 3 ปรุงรสด้วยเกลือ พอเดือดอีกครั้ง ยกลง เสร็จขั้นตอนทำน้ำเงี้ยว 4 จัดขนมจีนใส่จานพร้อมเครื่องเคียง ราดด้วยน้ำเงี้ยวที่ทำไว้ รับประทานกับแคบหมู ผักกาดดอง ถั่วงอก ต้นหอม ผักชี พริกทอด กระเทียมเจียว

6 ภาค เหนือรวม 17 จังหวัดประกอบด้วยภูมินิเวศน์ที่หลากหลายพร้อมด้วยชาติพันธุ์ต่าง ๆ ที่ตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ราบลุ่ม ที่ดอน และที่ภูเขาสูงในการดำรงชีพ การตั้งถิ่นฐานของชาวไทยพื้นราบซึ่งเป็นชาติพันธุ์ส่วนใหญ่จะกระจุกตัวอยู่ ที่พื้นที่ลุ่มบริเวณแม่น้ำสายใหญ่ เช่น ปิง วัง ยม น่าน ของลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนบน และ อิง ลาว ของลุ่มน้ำโขง มีวิถีชีวิตผูกพันกับวัฒนธรรมการปลูกข้าวโดยชาวไทยพื้นราบภาคเหนือตอนบน 8 จังหวัด (เชียงใหม่ เชียงราย ลำปาง ลำพูน แม่ฮ่องสอน พะเยา แพร่ น่าน) มีวัฒนธรรมการผลิตและการบริโภคข้าวเหนียวเป็นหลัก

7 อาหารของคนเหนือจะมีความงดงาม เพราะด้วยนิสัยคนเหนือจะมีกริยาที่แช่มช้อย จึงส่งผลต่ออาหาร โดยมากมักจะเป็นผัก ข้าว ซอย คืออาหารพื้นเมืองทางภาคเหนือของประเทศไทย เดิมเรียกว่า ก๋วยเตี๋ยวฮ่อ [1] เป็นอาหารที่คล้ายเส้นบะหมี่ ในน้ำซุปที่ใส่เครื่องแกง รสจัดจ้าน ในตำรับดั้งเดิม ข้าวซอยจะมีส่วนประกอบของเนื้อหมูหรือเนื้อไก่ มีเครื่องเคียงได้แก่ ผักกาดดอง หอมหัวแดง และมีเครื่องปรุงรส เช่น พริกผัดน้ำมัน น้ำมะนาว น้ำปลา น้ำตาล ปัจจุบันอาจเพิ่มอาหารทะเลหรือเต้าหู้เป็นส่วนประกอบ อาหารจานนี้มักไม่ค่อยมีจำหน่ายในร้านอาหารไทยในต่างประเทศ จะพบบ่อยก็แต่ทางภาคเหนือของไทย

8 อาหารพื้นเมืองภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
อาหารพื้นเมืองภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อาหารอีสานจะไปทางรสชาติเผ็ดร้อน และมีข้าวเหนียวนึ่งเป็นหลักเหมือนกับภาคเหนือ รับประทานกับลาบ ลาบเลือด ส้มตำ ปลาย่าง ไก่ย่าง จิ้มแจ่ว ปลาร้า อาหารภาคนี้จะนิยมปิ้ง ย่างมากกว่าทอด อาหารส่วนมากจะปรุงรสจัด เนื้อสัตว์ที่นิยมปรุงอาหาร ได้แก่ กบ เขียด แย้ งู หนูนา มดแดง ไข่มดแดง แมลงบางชนิด ส่วนเนื้อหมู วัว ไก่ และเนื้อสัตว์อื่น ๆ ก็นิยมตามความชอบ

9 เป็นดินแดนที่มีความเจริญรุ่งเรืองมาแต่อดีต มีขนบธรรมเนียม ประเพณีที่แตกต่างไปจากภาคอื่นๆ การรับประทานอาหารของทางภาคเหนือจะใช้โก๊ะข้าว หรือที่เรียกว่า ขันโตก แทน โต๊ะอาหาร โดยจะนั่งล้อมวงเพื่อรับประทานอาหารร่วมกัน คนภาคเหนือจะรับประทานข้าวเหนียวเป็นอาหารหลัก โดยอาหารของทางภาคเหนือจะเป็นอาหารที่สุกมากๆ และเป็นอาหารประเภทที่ผัดกับน้ำมันเป็นส่วนใหญ่

10 แกงแค นอกจากนั้นยังมีแหนม ไส้อั่ว แคบหมู  และผักต่าง ๆ สภาพอากาศก็มีส่วนสำคัญที่ทำให้อาหารพื้นบ้านภาคเหนือแตกต่างจากภาคอื่น ๆ  นั่นคือ การที่อากาศหนาวเย็นเป็นเหตุผลให้อาหารส่วนใหญ่มีไขมันมาก เช่น น้ำพริกอ่อง แกงฮังเล ไส้อั่ว เพื่อช่วยให้ร่างกายอบอุ่น อีกทั้งการที่อาศัยอยู่ในหุบเขาและบนที่สูงอยู่ใกล้กับป่า จึงนิยมนำพืชพันธุ์ในป่ามาปรุงเป็นอาหาร เช่น ผักแค บอน หยวกกล้วย ผักหวาน ทำให้เกิดอาหารพื้นบ้อาหาร ของภาคเหนือ ประกอบด้วยข้าวเหนียวเป็นอาหารหลัก มีน้ำพริกชนิดต่าง ๆ เช่น  น้ำพริกหนุ่ม น้ำพริกอ่อง มีแกงหลายชนิด เช่น แกงโฮะ าน ชื่อต่าง ๆ เช่น แกงแค แกงหยวกกล้วย แกงบอน อาหารพื้นบ้านภาคเหนือมีความพิเศษตรงที่มีการผสมผสานวัฒนธรรมการกินจาก หลายกลุ่มชน เช่น ไทใหญ่ จีนฮ่อ ไทลื้อ และคนพื้นเมือง

11

12

13

14

15

16


ดาวน์โหลด ppt อาหารภาคเหนือ เสนอ อ.ปริสา หนูอินทร์ จัดทำโดย นาย.รัฐธรรมนูญ เลขที่.2

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google