ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSajja Sanya ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
ระบบข้อมูลโครงการสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม
นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 3 ธ.ค.57 จังหวัดอุบลราชธานี
2
Content การศึกษาเกี่ยวกับการตรวจเต้านมด้วยตนเอง
วัตถุประสงค์ของโครงการสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม ระบบข้อมูลของโครงการฯ และโอกาสพัฒนาในการพัฒนาระบบข้อมูล กิจกรรมในปี 2558 และการเตรียมพร้อมกับการประเมินจากวิทยาลัยสาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การเชื่อมต่อข้อมูลจาก Cancer Registery ที่ รพ.มหาราชกับผู้ที่ทำหน้าที่ Center ของ สสจ.ในเรื่อง Breast Cancer
4
การศึกษาประสิทธิผลของ BSE
The Russian Federation/WHO Study (Russia 1999 –(อายุ ปี จำนวน 120,310 ราย ) The Shanghai Study 2002 (Randomized trial of BSE in Shanghai : Final Result- (30-66 ปี จำนวน266,064 ราย) The Philippine Study 2006 (35-64 ปี จำนวน 404,947 ราย) The Thailand Study (โครงการสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่าต้านภัยมะเร็งเต้านม (30-70 ปี จำนวน 1.9 ล้าน)
5
การวิจารณ์ผลการศึกษา
Russia & Shanghai Study Internal validity & Consistency – Fair External Validity – Poor ** External validity คือ ความสามารถในการขยายผล (Generalized) ไปใช้ภายนอกพื้นที่ที่ทำการศึกษา ** อ้างอิง Breast Cancer Screening PDQ® NCI Home page Philippine Study ทำ 1 ปีเลิก เนื่องจาก Loss F/U มาก ** อ้างอิง Regular SBE & CBE for early detection of Breast cancer (Review) - Cochrane
7
โครงการสืบสานพระราชปณิธานฯ
วัตถุประสงค์ หญิงอายุ ปี ตรวจเต้านมด้วยตนเอง (BSE) อย่างถูกต้องและสม่ำเสมอ ร้อยละ 80 พบก้อนสงสัยผิดปกติ ได้รับการส่งต่อ /ตรวจยืนยัน/รักษา ร้อยละ 100 ศึกษาประสิทธิผล BSE ผลลัพธ์ พบก้อนมะเร็งเล็กลง (3 ปี) ,Staging Early ขึ้น (5 ปี) อัตราตายลดลง (10 ปี)
8
สรุปแผนการดำเนินงาน 1.ก้อน > 2 ซ.ม. 63% 2.Stage1+2= 72%
2556 ลงทะเบียน 1.9 ล้านคน 2557 BSE 1.4 ล้าน คน 9.6 ล้านครั้ง 8.7 ล้านครั้ง จริง (76%) 2558 ก่อน > 2 ซม. ลดลง 2560 Stage (1+2) เพิ่มขึ้น 2565 อัตราตาย ลดลง Preliminary Report 1.ก้อน > 2 ซ.ม. 63% 2.Stage1+2= 72% 3.พบมะเร็ง 586 ราย ปี 2556 = 23.5 ต่อแสน ของหญิง ปีที่ลงทะเบียน 4.BSE ไม่สม่ำเสมอ เสี่ยงต่อการพบก้อน > 2 ซม.=1.9 เท่า (Significant) 5.BSE ไม่สม่ำเสมอ เสี่ยงต่อ Late Staging .=1.4 เท่า (ไม่ significant)
10
ระบบการบันทึกข้อมูล
11
สรุปเกี่ยวกับเรื่องระบบข้อมูล
จังหวัดนครราชสีมา ใช้ สสจ.เป็น Center (Manager ระดับจังหวัด) ในการแปลงข้อมูล Cancer Register ไปสู่ BCI และ Key ข้อมูลผ่าน Web โดยมอบหมายเจ้าหน้าที่ที่ทำหน้าที่เป็น Center ในการบันทึกข้อมูล การบันทึกผ่าน Web ในรายที่เป็น Ca breast จะใช้รหัสสถานบริการของสถานบริการที่เป็น เป็นผู้ Register รพ.สต./รพช. Print แบบฟอร์ม BCI มาเก็บไว้ในที่ รพ.สต./รพช.และทำการประเมินทักษะการ BSE ว่าน่าจะ BSE แบบมีคุณภาพและสม่ำเสมอหรือไม่ รพช.จะเป็น Care manager ระดับจังหวัด ที่จะทราบภาพรวมของจำนวนผู้ป่วยมะเร็งเต้านมในระดับอำเภอ
12
จะ เปลี่ยน Missing Data ให้เป็นข้อมูลที่ใช้ได้อย่างไร
13
กิจกรรมในปีงบประมาณ 2558 การสร้างความตระหนักให้หญิง ปี BSE ให้ถูกต้องสม่ำเสมอ หญิง ปี มีและใช้สมุดบันทึกการตรวจเต้านมตนเอง การยืนยันการ BSE ของหญิง ปี โดย อสม เชี่ยวชาญ การบันทึกข้อมูลการยืนยันจาก อสม. โดย รพ.สต/รพช/PCU การจัดการ รายที่ตรวจแล้วสงสัยผิดปกติ ได้แก่ CBE ,Mobile U/S ,Mammogram + U/S ,Dx , Rx ,Refer การบันทึกเวชระเบียนให้ครบถ้วน (1) , Key ข้อมูลผ่าน web (เฉพะที่เป็น Center) Update ข้อมูล BSE (1) และ มะเร็งเต้านม (2)
14
การเตรียมในส่วนของการตรวจเต้านมด้วยตนเอง
ข้อมูลหญิง ปีในพื้นที่รับผิดชอบของแต่ละสถานบริการ (a คน) แจกสมุดบันทึกการตรวจเต้านม (b คน) อบรม อสม.เชี่ยวชาญ กี่คน (c คน) มีและใช้สมุดบันทึกการตรวจเต้านมตนเอง อย่างไร และที่มีคุณภาพและสม่ำเสมอ (d คน) พบก้อนที่สงสัยผิดปกติจำนวนเท่าไร (e คน) กลุ่มที่พบก้อนสงสัยผิดปกติได้รับการจัดการอย่างไร เป็นมะเร็งเต้านมจำนวนกี่ราย (f คน)
15
การเตรียมตัวก่อนที่ทีมอาจารย์จุฬาจะมาประเมิน
การ Complete และ Update ข้อมูลผู้ป่วยมะเร็งเต้านม มะเร็งเต้านมจะพบประมาณ 23 ต่อแสนหญิง ปี ซึ่งพบไม่มาก และต้องการข้อมูลเชิงคุณภาพ โดย กรอกข้อมูลใน แบบฟอร์ม BCI ให้ครบถ้วน และเก็บไว้ที่สถานบริการ (รพ.สต/รพช/รพศ/รพท ต้องมีแฟ้มเก็บแบบฟอร์ม BCI และต้องรู้ว่าเป็นมะเร็งเต้านมกี่ราย /รายใหม่กี่ราย/รายเก่ากี่ราย/ก้อน >2 cm กี่ราย ,Stage 0,1,2,3,4 กี่ราย / ตายกี่รายในแต่ละปี) เช็คข้อมูลในแฟ้มว่าตรงกับข้อมูลบน Web หรือไม่ ขอสมุดบันทึกการตรวจเต้านมด้วยตนเอง เก็บไว้หน้างาน แล้วแจกเล่มใหม่ให้ (ให้เตรียมพร้อมที่หน้างาน เพราะเดือนธันวาคม 2557 ทีมอาจารย์จุฬาจะมาประเมิน)
16
FORM_BCI
17
ข้อมูลจำเป็น (The must)
เลข 13 หลัก เพื่อ check ว่าอยู่ใน cohort ที่ Register หรือไม่ Diagnosis เป็น breast cancer แบบใด วันที่ที่ Confirm เป็นมะเร็งเต้านมเมื่อไหร่ ขนาดก้อนวัดจาก U/S ,Mammogram /Biopsy , Staging วันที่ตาย (กรณีที่เสียชีวิต)
19
ศูนย์มะเร็ง จะเก็บข้อมูลเกี่ยวกับมะเร็งทุกชนิด
โดยโปรแกรมของ รพ.สามารถดึงข้อมูลมะเร็งและผล Patho
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.