งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โดย นายเหมรัศมิ์ วชิรหัตถพงศ์ รหัส 53660549 BOX COUNTING.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โดย นายเหมรัศมิ์ วชิรหัตถพงศ์ รหัส 53660549 BOX COUNTING."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โดย นายเหมรัศมิ์ วชิรหัตถพงศ์ รหัส 53660549 BOX COUNTING

2 ใช้ในการประมาณค่าของมิติแฟร็กทัล วิธีการของ Box Couting ทำการแบ่งภาพขนาด RxR จุดภาพเป็นตาราง ย่อยขนาด sxs จุดภาพ โดย 1 ช่องตาราง แทน 1 จุดภาพ ตารางที่แบ่งจะอยู่ในรูป 2 n โดยที่ n เริ่มตั้งแต่ 1,2,3 และมีขนาดมากสุด เป็น R/2 จากนั้นทำการนับจำนวนช่องตารางย่อยที่มี ส่วนของภาพอยู่ เรียกว่า Box Count แทน ด้วย N(s) และทำการบันทึกข้อมูลค่า Box Count ที่นับได้ และขนาดของตารางแทนด้วย s จากนั้นเปลี่ยนขนาดของตารางให้ใหญ่ขึ้นจน ครบ R/2 x R/2 จุดภาพ

3 BOX COUNTING จากนั้นนำข้อมูลที่ได้จากการนับตารางย่อยที่ มีภาพปรากฎอยู่มาสร้างกราฟความสัมพันธ์ แบบล็อการิทึม โดยที่แกน x เป็น log(1/s) ส่วนแกน y เป็น log(N(s)) จากนั้นทำการประมาณค่าความชันของ เส้นตรงด้วย Best Fit Line ความชันของ กราฟที่ได้จะเป็นตัวแทนของมิติแฟร็กทัล

4 BOX COUNTING ตัวอย่างการคำนวณคำนวณมิติแฟร็กทัลของภาพ Koch Curve ขนาด 256x256

5 BOX COUNTING ใช้การเป็นตารางกริดขนาดใหญ่ที่สุดไม่เกิน R/2 ในที่ R=256 ดังนั้นแบ่งเป็นตาราง กริดขนาด s=128 ดังรูป ทำการนับในตารางกริดที่มีรูปปรากฏ ในที่นี้ได้ 4 บันทึก เป็นค่า s และ N(s) sN(s) 1284

6 BOX COUNTING ลดขนาดของตารางกริดลงครึ่งหนึ่ง s = 128/2 = 64 และดำเนินการนับจำนวนของตารางกริดที่มีรูปภาพ ปรากฏในที่นี้นับได้จำนวน 6 ช่อง บันทึกค่า s และ N(s) sN(s) 1284 646

7 BOX COUNTING ลดขนาดของตารางกริดลงครึ่งหนึ่ง s = 64/2 = 32 และดำเนินการนับจำนวนของตารางกริดที่มีรูปภาพ ปรากฏในที่นี้นับได้จำนวน 18 ช่อง บันทึกค่า s และ N(s) sN(s) 1284 646 3218

8 BOX COUNTING ลดขนาดของตารางกริดลงครึ่งหนึ่ง s = 32/2 = 16 และดำเนินการนับจำนวนของตารางกริดที่มีรูปภาพ ปรากฏในที่นี้นับได้จำนวน 38 ช่อง บันทึกค่า s และ N(s) sN(s) 1284 646 3218 1638

9 BOX COUNTING ลดขนาดของตารางกริดลงครึ่งหนึ่ง s = 16/2 = 8 และดำเนินการนับจำนวนของตารางกริดที่มีรูปภาพ ปรากฏในที่นี้นับได้จำนวน ช่อง บันทึกค่า s และ N(s) sN(s) 1284 646 3218 1638 883

10 BOX COUNTING ลดขนาดของตารางกริดลงครึ่งหนึ่งไปเรื่อยๆ จนกระทั่ง s มีค่ามากกว่า 1 จากนั้นนับจำนวนตารางกริดที่มีภาพ ปรากฏและบันทึกข้อมูลของ s และ N(s) จะได้ข้อมูล ดังตารางต่อไปนี้ sN(s) 1284 646 3218 1638 883 4218 2561

11 BOX COUNTING SBox Count (N(s)) Log(1/s)Log(N(s)) 1284-2.10720.6021 646-1.80620.7782 3218-1.50511.2553 1638-1.20411.5798 883-0.90311.9191 4218-0.60212.3385 2561-0.30102.7490 จากนั้นนำค่าที่ได้มาคำนวณหาค่า Log(1/s) และ Log(N(s)) จะได้ข้อมูลดังนี้

12 BOX COUNTING และเมื่อนำข้อมูลที่ได้มา Plot กราฟเพื่อหาค่าความชันได้ ดังรูปต่อไปนี้ จะได้ค่าความชันของกราฟเป็น 1.2131 ซึ่งจะเป็นค่าที่ใช้ แทนมิติแฟร็อกทัล (FD) ของ Koch Curve ข้างต้น


ดาวน์โหลด ppt โดย นายเหมรัศมิ์ วชิรหัตถพงศ์ รหัส 53660549 BOX COUNTING.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google