ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
แนวทางปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยที่ติดเชื้อหรืออาจติดเชื้อไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ชนิด A ( H1N1 ) ผู้ป่วย Influenza-like illness : หมายถึง ผู้ป่วยเข้าข่าย สงสัยว่าเป็นโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่A ( H1N1 ) มีไข้ >𝟑𝟖°C ร่วมกับ ไอ เจ็บคอ อาจมีอาการอื่นๆเช่น คัดจมูก น้ำมูกไหล ปวดเมื่อย อาเจียน ท้องเสีย โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
2
กลุ่มเสี่ยงต่อโรครุนแรง
โรคหอบหืดหรือโรคปอดเรื้อรัง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคที่ทำให้ภูมิต้านทานต่ำ โรคเอดส์ โรคมะเร็ง โรคไตเรื้อรัง ภาวะความผิดปกติของเมตาโบลอซึม เช่น โรคเบาหวาน โรคทาลัสซีเมีย เด็กอายุ≤ 15 ปี ที่กำลังกินยาแอสไพรินรักษาโรค เช่น คาวาซากิ รูมาตอยด์ มีความผิดปกติทางระบบประสาท โรคลมชัก ที่จะทำให้ป้องกันการแพร่เชื้อยาก อายุ˂24 เดือน หรือมากกว่า 65 ปี หญิงตั้งครรภ์ และคนที่เป็นโรคอ้วน
3
1-3 วัน ระยะฟักตัวของโรค ระยะแพร่เชื้อ
1วัน – 5 วัน หลังป่วย ผู้ป่วยแพร่เชื้อได้มากที่สุดใน 3 วันแรก ถ้ามีภูมิต้านทานต่ำอาจแพร่เชื้ออยู่นานหลายสัปดาห์ หรือเดือน
4
การรับผู้ป่วยไว้ใน รพ.
ผู้ที่มีอาการน้อยหรือเป็นผู้สัมผัสที่ยังไม่มีอาการ ไม่จำเป็นต้องรับไว้ใน รพ. แนะนำวิธีการดูแลรักษาตนเอง และ วิธีการป้องกันการแพร่เชื้อที่พึงปฏิบัติ
5
ผู้ที่มีอาการมากหรือเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อโรครุนแรง
พิจารณารับไว้เพื่อตรวจและรักษาในโรงพยาบาลตามดุลยพินิจของแพทย์
6
การป้องกันการแพร่เชื้อใน รพ.
การแยกผู้ป่วย แยกผู้ป่วยเช่นเดียวกับโรคติดเชื้อทางเดินหายใจทั่วๆไป 1.ผู้ป่วยนอก ให้ผู้ป่วยที่มีอาการ ใช้ surgical mask 2 . ผู้ป่วยใน ให้อยู่ในห้องแยกเดี่ยว
7
การป้องกันการรับเชื้อ
ผู้ที่เข้าใกล้ผู้ป่วยในระยะน้อยกว่า 2 เมตร หรืออยู่ในสถานที่ที่เสี่ยงต่อการรับเชื้อหวัด ป้องกันตนเองโดยสวม surgical mask และล้างมือบ่อยๆ
8
การใช้ mask เพื่อป้องกันการรับเชื้อ
ไวรัส A ( H1N1 ) ติดต่อทางการพูด ไอ จาม เชื้อจะสามารถกระจายในระยะไม่เกิน 2 เมตร กรณีทั่วๆ ไป แนะนำให้ใส่ surgical mask สำหรับกรณีที่เข้าใกล้ผู้ติดเชื้อขณะให้ nebulization หรือ suction เท่านั้น จึงใช้ N95 mask
9
วิธีใช้ surgical mask ให้ถูกต้อง 1 .เอาสีเข้มออกด้านนอก ด้านที่มีโลหะอยู่บนสันจมูก สวมคลุมจมูก-ปากและคาง 2 .ใช้แต่ละอันไม่เกิน 1 วัน เปลี่ยนเมื่อชื้นหรือขาด ทิ้งลงภาชนะที่มีฝาปิด 3 .ไม่เอามือจับ mask ที่บนใบหน้าขณะที่ใช้อยู่ ถ้าจับต้องล้างมือ
10
การส่งตรวจหาไวรัส เก็บ nasal swab หรือ throat swab ( ให้ได้ epithelial cells ) เฉพาะ ในผู้ป่วยที่มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ( influenza-like illness,ILI ) มาจากพื้นที่ที่ยังไม่เคยมีการระบาดมาก่อน ผู้ป่วย ILI ที่มีอาการมาก เช่น มีไข้สูง มีอาการหอบ ผู้ป่วย ILI ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยง
11
การรักษาผู้ติดเชื้อ ให้ยา Oseltamivir ( ยาต้านไวรัส ) ในผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงและอาการยังไม่ดีขึ้น และให้ในรายที่มีอาการมาก
12
แนวทางการคัดกรองผู้ป่วยที่มีอาการไข้หวัดใหญ่ รพ.ค่ายกฤษณ์สีวะรา
ผู้ป่วยทุกคน จุดคัดแยก มีอาการ ILI ใส่หน้ากากทุกคน ไม่มีอาการ ILI จุดแยกตรวจ รอตรวจตามปกติ ABCD stabie และอาการรุนแรง ABCD stabieและอาการไม่รุนแรง ABCD unstabie 1.สงสัยปอดอักเสบจาก Hx หรือ CXR 2.ซึมผิดปกติ มีภาวะขาดน้ำ หรือกินได้น้อย 3.อาการไม่ดีขึ้นหลัง 48 ชม.ตั้งแต่เริ่มป่วย แจ้งแพทย์ และ จนท. ER เตรียมพร้อมกันผู้ป่วยอื่นออกจาก ER มีความเสี่ยงต่อโรครุนแรง ไม่มีความเสี่ยงต่อโรครุนแรง รักษาตามอาการ ช่วยให้ ABCD stabie Admit -ไม่ต้อง Admit -ไม่ต้องส่ง Viral PCR -ไม่ต้องเริ่ม Oseltamivir เริ่ม Oseltamivir 1×2pc +/- ATB Refer ส่ง Viral PCR ตามความเหมาะสม แนะนำหากอาการไม่ดีขึ้นใน3 วัน มาพบแพทย์
13
พ.ต.หญิงกัญญามาส มณีนาค
Thank you พ.ต.หญิงกัญญามาส มณีนาค
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.