ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
จะเกิดขึ้นได้กับคลื่น ตามขวาง
11.3 โพลาไรเซชัน จะเกิดขึ้นได้กับคลื่น ตามขวาง ทิศทางการสั่นของ สนามไฟฟ้าเรียกว่า เป็นทิศการสั่น ของ โพลาไรเซชัน (Direction of Polarization)
2
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เป็นคลื่นตามขวาง เกิดจากการแกว่งกวัดของสนามแม่เหล็ก และสนามไฟฟ้า ในทิศที่ตั้งฉากกันและตั้ง ฉากกับทิศการเคลื่อนที่คลื่น
3
แสงธรรมดาเป็นแสงไม่ โพลาไรซ์ จะมีเ วกเตอร์ ที่ สั่นหลายทิศ
แสงธรรมดาเป็นแสงไม่ โพลาไรซ์ จะมีเ วกเตอร์ ที่ สั่นหลายทิศ ซึ่งสามารถ แตก เป็น องค์ประกอบ ในแนว X และ Y ได้
4
11.3.1 การโพลาไรเซซันโดยวิธีการไดโครอิก
การโพลาไรเซซันโดยวิธีการไดโครอิก วิธีการไดโครอิก (dichroism) เป็นการท ำ ให้ เกิดการโพลาไรซ์ โดยใช้วัสดุหรือสารบางอย่าง มาดูดกลืนองค์ประกอบหนึ่ ง ของเวกเตอร์ ผลึกบางชนิด เช่น ผลึกทัวร์มาลีน (tourmaline) ผลึกเฮอราพาไทต์ (herapathite) ซึ่งใช้ทำ แผ่นโพลารอยด์
5
กฏของมาลุส (Malus's law)
คือความเข้มสูงสุดของแสงที่ผ่ านตัว วิ เ คราะห์
6
ข้อควรระวังในการใช้กฎของมาลุส
แสงที่จะนำมาคำนวณ ตามกฎ นี้ ต้อง เป็นแสง โพลาไรซ์ เท่า นั้น หากเป็น แสงปกติ ก็ต้องทำ ให้เ ป็นแสง โพลาไรซ์ ก่อน โดยใช้ แผ่นโพลารอยด์ ซึ่ ง ความเข้มแสงจะลดลงครึ่ งหนึ่ง
7
เปอร์ เซ็นต์ของการโพลาไรซ์
เป็นการตรวจวัด โดยหมุนตัว วิเคราะห์ หาความเข้มสูงสุด และความเข้ม ต่ำ สุด แล้ว นำมา คำนวณ
8
P = 100% เป็นแสงโพลา ไรซ์เชิงเส้น
9
11.3.2 การโพลาไรเซซันโดยการสะท้อน
การโพลาไรเซซันโดยการสะท้อน มุมบริวสเตอร์(Brewster’s angle) คือ มุม ตกกระทบ มุมหนึ่งที่ ทำ ให้ แสงสะท้อน เป็นแสงโพลาไรซ์ เชิงเส้น 100% โดยมีเงื่อนไขว่า
10
เมื่อ หรือมุมบริวสเตอร์ (Brewster' angle) คือ มุมที่ แสงหักเห
คือ มุมโพลาไรซ์ (polarizing angle) หรือมุมบริวสเตอร์ (Brewster' angle) คือ มุมที่ แสงหักเห และจากกฏของสเนล เงื่อนไข นี้ นำ ไปสู่
11
ตัวอย่าง 15) ถ้าต้องการให้แสงปกติ ผ่า น เข้ามาใน รถได้ เ พียง 30% จะต้องเคลือบ กระจกรถด้วย ฟิลม ์โ พลารอยด์อย่าง น้อย ที่ สุด กี่ ชั้น และแต่ละ ชั้นจะต้องทำมุมกันเท่ าไร
12
16) แผ่นโพลารอยด์ 3 แผ่น วางซ้อนกันอยู่โดย แผ่นแรกทำมุม 45o กับ แผ่น ที่ 2 และ แผ่น ที่ 2 ทำมุม 45o กับแผ่น ที่ 3 จงหา ว่า แสงที่ทะลุ ผ่าน ไปได้ มีความเข้มเป็นสัดส่วน เท่า ไร ของแสงตก
13
17) จงคำนวณหามุมตกที่ ทำ ให้แสงสะท้อนบน
17) จงคำนวณหามุมตกที่ ทำ ให้แสงสะท้อนบน ผ ิวแก้วที่ มี n = 1.54 เป็นแสงโพลาไรซ์ 18) ถ ้าแสงสะท้อนเป็นแสงโพลาไรซ์ เมื่อแสง ปกติท ำมุมจาก 60o องศา จงหาดัชนีหักเหและมุมหักเห ของแก้ว
14
11.3.3 การหักเหสองแนว (birefringence)
เกิดในสารพวกอสมลักษณ์ (anisotropic) ความเร็วของแสงในทิศทาง ต่างๆ กันในผลึก นั้น ไม่เท่า กัน ทิศทางซึ่งคลื่นทั้งสองชุดนี้สัมผัสกัน เรียก ว่า แกนทัศน์ (optic axis) (นั่น คือเมื่อคลื่นทั้ง สองมีความเร็ว เท่ากัน)
15
คลื่นที่เคลื่อนที่ไป 2 ชุด
1 . รังสีธรรมดา (ordinary ray) เป็นคลื่น ทรงกลม หน้า คลื่นของรังสี o คือเส้นที่ ลากสัมผัส กับ คลื่นทรงกลม มีการหักเหเป็นไปตามกฏของสเนล ขึ้นกับ no
16
2. รังสีผิดธรรมดา (extraordinary ray)
เป็นคลื่นทรงรี (extraodinary ray) หน้าคลื่นของรังสี e คือ เส้นที่ ลากสัมผัสกับ คลื่นทรงรี ไม่เ ป็นไปตามกฏของสเนล ขึ้นกับ ne
17
รังสี o และรังสี e ในผลึกหักเหสองแนว ต่างเป็นแสงโพลาไรซ์ เชิงเส้น
18
การโพลาไรซ์แ บบวงกลมและวงรี
เกิด จากการรวมแสงโพลาไรซ์ แบบเส้นตรง 2 ลำ โดย ที่แต่ละ ล ำมีการสั่น ของเวกเตอร์ ในทิศทาง ตั้งฉากกัน
19
แสงโพลาไรซ์ แบบวงกลม ผลต่าง เฟสของแสงโพลาไรซ์ แบบเส้นตรง 2 ลำ ที่มารวมกัน มี ค่า เป็น เมื่อ n เป็น เลขคี่
20
แสงโพลาไรซ์ แบบวงรี ผล ต่างเฟสของแสงโพลาไรซ์ แบบเส้นตรง 2 ลำ ที่มารวมกัน มี ค่า อื่นๆ ที่ ไม่ใช่ จำนวน เท่า ที่เป็นเลขคู่ของ
21
แสงโพลาไรซ์ แบบ เส้นตรง
ถ้า ผล ต่างเฟสของแสงโพลาไรซ์ เป็น จำนวน เท่า ของ จะเป็น โพลาไรซ์ แบบเส้นตรง เท่า นั้น
22
แผ่นเสี้ยว คลื่น(quarter-wave plate) คือ
ผลึกมีความหนาพอดีกับทำ ให้ผล ต่างเฟส ของแสงที่ ผ่านออกมาเป็นโพลาไรซ์ แบบวงกลม ( ผลต่างของเฟสของรังสี o และรังสี e เป็น )
23
แผ่นครึ่ง คลื่น (half-wave plate) คือ ผลึกมีความหนาพอดีที่ ทำ ให้ผลต่าง เฟส
ของ แสง (ความถี่ ค่า หนึ่ง) ที่ ผ่านผลึก ออกมาเป็นโพลาไรซ์ แ บบเส้นตรง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.