งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หลักการเขียนโปรแกรม ( )

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หลักการเขียนโปรแกรม ( )"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)
[แผนกคอมพิวเตอร์] หลักการเขียนโปรแกรม ( ) 3 บทที่ ลักษณะโครงสร้างผังงาน

2 หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)
1. ลักษณะโครงสร้างผังงาน (Flowchart) โครงสร้างอยู่ 3 รูปแบบ คือ 1. โครงสร้างผังงานแบบลำดับ (Sequence Flowchart) 2. โครงสร้างผังงานแบบเลือกทำ (Selection Flowchart) 3. โครงสร้างผังงานแบบทำซ้ำ (Repeation Flowchart) หลักการเขียนโปรแกรม ( )

3 2. โครงสร้างผังงานแบบลำดับ
1. เริ่มต้น เป็นการทำงานที่มีโครงสร้างแบบเรียงลำดับกิจกรรมก่อนหลัง ที่ต่อเนื่องกัน ตั้งแต่ขั้นตอนแรก ไปจนถึงขั้นตอนสุดท้าย เป็นรูปแบบง่าย ๆ ไม่มีการเปรียบ เทียบใด ๆ มีทิศทางการไหลของ ข้อมูลเพียงทางเดียว 2. อ่านค่าข้อมูลมาเก็บ ไว้ที่ตัวแปร A , B 3. คำนวณค่า แล้วเก็บไว้ที่ตัวแปรX 4. แสดงค่า X 5. จบการทำงาน ตัวอย่างโครงสร้างผังงานแบบลำดับ หลักการเขียนโปรแกรม ( )

4 3. โครงสร้างผังงานแบบเลือกทำ
โครงสร้างผังงานแบบเลือกทำ ประกอบด้วยสัญลักษณ์การตัดสินใจ 1 สัญลักษณ์ การเลือกมีทางออก 2 ทาง ในการเลือกแบบมี 2 ทางเลือกนี้จะมีทางออกจากสัญลักษณ์การตัดสินใจ 2 ทาง คือใช่ หรือ ไม่ใช่ เท่านั้น หลักการเขียนโปรแกรม ( )

5 3. โครงสร้างผังงานแบบเลือกทำ (ต่อ)
แบบ 1 แบบ 2 ผังงานแบบ 1 , 2 การตรวจสอบเงื่อนไขถ้าเป็นจริงจะอยู่ด้านซ้ายหรืออยู่ด้านขวาก็ได้ หรือถ้าเงื่อนไขเป็นเท็จ จะอยู่ด้านซ้ายหรือขวาก็ได้เช่นกัน แบบ 3 แบบ 4 ผังงานแบบ 3,4 ผลการตรวจสอบเงื่อนไข ถ้าเป็นจริง อาจมีขั้นตอนการทำงานเพียงทางเดียว ถ้าเงื่อนไขเป็นเท็จ อาจจะไม่มีขั้นตอนการทำงานต่อไป หลักการเขียนโปรแกรม ( )

6 หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)
แบบ 5 แบบ 6 ผังงานแบบ 4 แบบ 5 ตัวอย่างโครงสร้างผังงานแบบเลือกทำในรูปแบบต่าง ๆ (อาจจะเป็นโครงสร้างผังงานแบบลำดับหรือแบบเลือกทำ หรือแบบทำซ้ำก็ได้) หลักการเขียนโปรแกรม ( )

7 4. โครงสร้างผังงานแบบทำซ้ำ
มีลักษณะเป็นรอบ (Loop อ่านว่า ลูป) จะทำงานแบบเดียวกันซ้ำไปเรื่อย ๆ ในขณะที่ยังเป็นไปตามเงื่อนไขหรือเงื่อนไขเป็นจริง จนกระทั่ง เงื่อนไขเป็นเท็จจึงทำงานอื่นต่อไป มีโครงสร้างอยู่หลายรูปแบบด้วยกัน คือ หลักการเขียนโปรแกรม ( )

8 4. โครงสร้างผังงานแบบทำซ้ำ (ต่อ)
1. โครงสร้างการทำซ้ำแบบ Do...While (ทำในขณะที่) เป็นการตรวจสอบเงื่อนไขก่อน หากเงื่อนไขเป็นจริง จะทำซ้ำต่อไป จนกระทั่งเงื่อนไขเป็นเท็จ จะออกจากขั้นตอนการทำซ้ำ อธิบายขั้นตอนการทำงาน 1. เริ่มต้นการทำงาน 2. กำหนดค่า X เท่ากับ 1 3. ในขณะที่ X < 10 ทำ 4. คำนวณค่า X เท่า X + 1 5. แสดงค่า X 6. จบการทำงาน หลักการเขียนโปรแกรม ( )

9 4. โครงสร้างผังงานแบบทำซ้ำ (ต่อ)
2. โครงสร้างการทำซ้ำแบบ Do...Until (ทำจนกระทั่ง) การทำซ้ำแบบ Do...Until คำนวณก่อนการตรวจสอบเงื่อนไขจนกระทั่งเงื่อนไขเป็นจริง จะทำซ้ำอย่างน้อย 1 ครั้ง แล้วจึงตรวจสอบเงื่อนไข หากเงื่อนไขเป็นเท็จจะทำซ้ำต่อไป จนกระทั่งเมื่อเงื่อนไขเป็นจริง จึงออกจากการทำซ้ำ อธิบายเป็นขั้นตอนการทำงาน 1. เริ่มต้นการทำงาน 2. รับค่า X 3. แสดงค่า X 4. ทำซ้ำจนกระทั่ง A=999 5. ถ้าไม่ใช่ ย้อนกลับไปทำซ้ำ 6. ถ้า ใช่ จบการทำงาน หลักการเขียนโปรแกรม ( )

10 4. โครงสร้างผังงานแบบทำซ้ำ (ต่อ)
3. โครงสร้างการทำซ้ำแบบ For...Next (กำหนดรอบการทำงาน) เป็นการสั่งให้มีการทำงานต่อไปจนกว่าจะครบรอบ ซึ่งสามารถให้มีการกระทำของโปรแกรมโดยการวนรอบอยู่ตลอดเวลา ตามการกำหนดของโปรแกรม ซึ่งสามารถกำหนดค่าเริ่มต้นและค่าสุดท้าย หรือขั้นของรอบได้ โดยมีรูปแบบดังนี้ หลักการเขียนโปรแกรม ( )

11 หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)
ตัวอย่างที่ 1 รูปแบบโครงสร้างผังงานแบบทำซ้ำ For...Next i คือ ตัวแปรจำนวน a คือ นิพจน์ที่บอกค่าเริ่มต้นของ i b คือ นิพจน์ที่บอกค่าสุดท้ายของ i c คือ นิพจน์ที่บอกค่าเปลี่ยนแปลงของ i ค่า c ที่เพิ่มหลัง Step เป็นจำนวนเพิ่ม หรือลดค่าตัวแปร ถ้าไม่กำหนดจะ ถือว่า Step เป็น 1 For i = a to b Step c คำสั่ง ... Next i หลักการเขียนโปรแกรม ( )

12 คำถามท้ายบท 1. กำหนดให้ A=5 , B=5 จงหาค่าของ X=?

13 2.จงหาการทำงานของโปรแกรมทั้งหมด กี่รอบ และ ผลบวกของ X=?

14 หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)
3 จบการนำเสนอ บทที่ ลักษณะโครงสร้างผังงาน หลักการเขียนโปรแกรม ( )


ดาวน์โหลด ppt หลักการเขียนโปรแกรม ( )

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google