งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
สุขศึกษาและพลศึกษา ม.3

2 รังไข่ ช่องคลอด ไข่สุกหลุดออกจากรังไข่ ท่อนำไข่ อวัยวะสืบพันธ์สตรี

3 ไข่เดินทางมาตาม ท่อนำไข่หรือปีกมดลูก
ไข่เดินทางมาตาม ท่อนำไข่หรือปีกมดลูก

4 ตัวอสุจิที่ผ่านช่องคลอดเข้ามาถึงมดลูกจะเข้าไปยังท่อนำไข่
การปฏิสนธิจะเกิดบริเวณท่อนำไข่

5 ไข่ที่ปฏิสนธิแล้วจะฝังตัวที่ผนังมดลูกกลายเป็นทารกต่อไป

6 การตั้งครรภ์ของสตรี

7 เดือนที่ 1  ระยะนี้สามารถมองเห็นทารก (ตัวอ่อน) ได้ด้วยตาเปล่า ส่วนของสมอง และไขสันหลังจะมีการพัฒนาอย่างเห็นได้ชัด เริ่มมีการสร้างส่วนที่เป็นกระดูกสันหลัง ความยาวทารกประมาณ ซ.ม.

8 เดือนที่ 2  เป็นระยะที่อวัยวะภายในถูกสร้างขึ้นอย่างสมบูรณ์ สามารถมองเห็นข้อต่อภายในร่างกาย เช่น ข้อไหล่ ข้อศอก ข้อสะโพก และข้อเข่าได้ชัดเจน กระดูกสันหลังสามารถบิดเพื่อเคลื่อนไหวไปมาได้ เริ่มมีการสร้างอวัยวะเพศ รูปร่างของทารกจะดูไม่เหมือนเด็ก แต่จะมีลักษณะคล้าย ๆ ลูกน้ำ ความยาวทารกประมาณ 2.5 ซ.ม.

9 เดือนที่ 3  โครงสร้างของใบหน้าเริ่มสมบูรณ์ แต่เปลือกตายังปิดอยู่ กล้ามเนื้อต่าง ๆ มีการเจริญเติบโต แขนขาเริ่มยืดออก และเคลื่อนไหวได้ การทำงานของระบบสมอง มีนิ้วมีเล็บ ทารกจะหัดดูดนิ้ว และเริ่มกลืนน้ำคร่ำได้ ความยาวของทารกประมาณ 8 ซ.ม. น้ำหนักของทารกประมาณ 17.5 กรัม           

10 เดือนที่ 4  แขน และข้อต่อต่าง ๆ พัฒนาอย่างสมบูรณ์ กล้ามเนื้อมีความแข็งแรงขึ้น ทารกสามารถเคลื่อนไหวได้อย่างกระฉับกระเฉง มีการสร้างขนคิ้ว และขนตา ความยาวของทารกประมาณ 15 ซ.ม. น้ำหนักของทารกประมาณ 135 กรัม

11 เดือนที่ 5  ช่วยนี้ทารกในครรภ์จะเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว มีฟันบนขากรรไกร เริ่มมีผมบนศีรษะ กล้ามเนื้อต่าง ๆ มีความแข็งแรงมากขึ้น ทารกเคลื่อนไหวมากขึ้น ระยะนี้คุณแม่จะเริ่มรู้สึกแล้วว่าลูกดิ้น หรือมีการเคลื่อนไหวเป็นระยะ ๆ ความยาวประมาณ 25 ซ.ม. น้ำหนักประมาณ 340 กรัม

12 เดือนที่ 6  ทารกในครรภ์จะมีการดูดนิ้วมือเป็นพัก ๆ บางครั้งอาจจะไอ หรือมีอาการสะอึกได้ ทารกจะดูผอมบาง เนื่องจากมีไขมันสะสมอยู่ใต้ผิวหนังน้อย ความยาวของทารกประมาณ 33 ซ.ม. น้ำหนักของทารกประมาณ 0.5 ก.ก.                          

13 เดือนที่ 7  สัดส่วนของศีรษะจะดูใหญ่กว่าลำตัว ช่วงนี้จะเริ่มมีการสะสมของไขมันใต้ผิวหนังมากขึ้น มีการสร้างไขมาปกคลุมผิวหนัง และลำตัว เพื่อให้ความอบอุ่น จะมีการพัฒนาอย่างสมบูรณ์ และพร้อมที่จะทำงานเมื่อทารกคลอดออกมา ความยาวประมาณ 37 ซ.ม น้ำหนักประมาณ 1ก.ก.

14 เดือนที่ 8  ทารกจะมีขนาด และสัดส่วนใกล้เคียงกับเด็กแรกเกิด มีความแข็งแรงมากขึ้น ในช่วงนี้ทารกจะเริ่มกลับหัวเข้าสู่อุ้งเชิงกราน การดิ้นของทารกจะสามารถสังเกตเห็นได้จากหน้าทองของแม่ ความยาวของทารกประมาณ 40 ซ.ม. น้ำหนักของทารกประมาณ 1.5 ก.ก.         

15 เดือนที่ 9  ระยะนี้ทารกจะโตเร็วมากจนเต็มพื้นที่ในมดลูก การเคลื่อนไหวจะน้อยลง เพราะเนื้อที่ในมดลูกมีจำกัด ทารกจะอยู่ในท่าที่พร้อมจะคลอด เล็บมีการเจริญเติบโต และยาวครอบคลุมปลายนิ้ว ผมบนศีรษะมีความยาวประมาณ 1-2 นิ้ว ถ้าเป็นครรภ์แรกศีรษะของทารกจะเคลื่อนเข้าไปอยู่ในอุ้งเชิงกราน ความยาวของทารกประมาณ 50 ซ.ม. น้ำหนักของทารกประมาณ 2.5 ก.ก.                          

16 การเจ็บท้องจริง จะเจ็บร้าวไปที่หลัง และเจ็บหน่วงร้าวไปที่หน้าขา เจ็บถี่ขึ้นเรื่อยๆ เมื่อมีอาการเจ็บ จะมีมูกปนเลือดออกมาทางช่องคลอด หรืออาจมีน้ำใสๆ คล้ายน้ำปัสสาวะออกมา เมื่อมีอาการเช่นนี้ แสดงว่าลูกน้อย พร้อมจะออกมาดูโลกแล้ว

17 ในระยะเริ่มแรก ปากมดลูกจะมีขนาดประมาณ 1-2 ซ. ม
ในระยะเริ่มแรก ปากมดลูกจะมีขนาดประมาณ 1-2 ซ.ม. เมื่อเวลาผ่านไป 6-8 ชั่วโมง ปากมดลูกก็จะขยายเป็น 4 ซ.ม. และ อีก 3-4 ชั่วโมง จะขยายเป็น 7 ซ.ม.

18 เมื่อปากมดลูกเปิด 10 ซ.ม. ซึ่งจะเปิดเต็มที่ ประมาณ นาที หลังจากที่ปากมดลูกเปิด 10 ซ.ม. มาสักพัก ลูกน้อยจะค่อยๆเคลื่อนหัวลงต่ำมาเรื่อย ตามแรงเบ่ง หัวเขาก็จะโผล่พ้นช่องคลอดออกมา

19 เมื่อได้เด็กออกมาทั้งตัวแล้ว คุณหมอจะตัดสายสะดือ


ดาวน์โหลด ppt จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google