ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
โครงร่างของรัฐธรรมนูญ 2550(Social Contract)
ประชาชน มอบอำนาจอธิปไตย รัฐ (มีอำนาจจำกัดเพื่อคุ้มครองสิทธิ/เสรีภาพ) พระมหากษัตริย์ อำนาจอธิปไตย(หนึ่งเดียวแบ่งแยกมิได้) Separation of function การควบคุมการใช้อำนาจรัฐ นิติบัญญัติ (รัฐสภา) เลือกตั้ง(รัฐธรรมนูญ) ทางอ้อม ใช้อำนาจอธิปไตย ประชาชน บริหาร (รัฐบาล) ตุลาการ (องค์กรชี้ขาดข้อพิพาท) ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง ศาลรัฐธรรมนูญ Tribunal (องค์กรอิสระ) ป.ป.ช. Ombudsman คณะกรรมการ สิทธิมนุษยชน คณะกก.ตรวจเงิน แผ่นดิน ก.ก.ต. (กระบวนการ) การตรวจสอบบัญชี ทรัพย์สิน/หนี้สิน การดำเนินคดี อาญานักการเมือง Impeachment ใช้อำนาจอธิปไตยทางตรง
2
บทที่ 1 ความเบื้องต้น รัฐธรรมนูญ(Constitution) คือ ก.ม สูงสุดในการปกครองประเทศ ที่เป็นเอกสารลายลักษณ์อักษรกำหนดเรื่องอำนาจ อธิปไตย สถาบันการเมือง สิทธิ – เสรีภาพ ก.มรัฐธรรมนูญ(Constitutional Law) คือ ก.มทั้งหลายที่ว่าด้วยเรื่องอำนาจอธิปไตย สถาบันการเมือง สิทธิ – เสรีภาพ ก.มประกอบรัฐธรรมนูญ(Organic Law) คือ ก.มว่าด้วยรายละเอียดของกลไกลทาง ร.ธ.น ที่จะนำไปสู่ผลในทางปฏิบัติตามเจตนารมณ์แห่ง ร.ธ.น
3
ก.ม ประกอบ ร.ธ.น มี 9 ฉบับคือ
ว่าด้วยการเลือกตั้ง ส.ส ./สว. ว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง ว่าด้วยพรรคการเมือง ว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดินรัฐสภา ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (ป.ป.ช.) ว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการออกเสียงประชามติ ว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ
4
ก.มร.ธ.น ในฐานะที่เป็น ก.ม มหาชน
รัฐ VS เอกชน ที่รัฐอยู่เหนือเอกชน - รัฐมีอำนาจอธิปไตย/ อำนาจมหาชน - การตีความโดยรักษาดุลยภาพระหว่างประโยชน์สาธารณะกับสิทธิเสรีภาพของประชาชน - (ต้องไม่ตีความเคร่งครัด)
5
ความแตกต่างกฎหมายรัฐธรรมนูญกับกฎหมายปกครอง
เนื้อหา - รัฐธรรมนูญพูดถึง อำนาจอธิปไตย สถาบันการเมือง สิทธิเสรีภาพ - กฎหมายปกครองพูดถึงสถาบันฝ่ายปกครองคือใคร อำนาจหน้าที่ในการจัดทำบริการสาธารณะ การควบคุมฝ่ายปกครอง ฐานะลำดับศักดิ์กฎหมาย - รัฐธรรมนูญสูงสุด/สูงกว่ากฎหมายปกครอง
6
(สถาบันการเมือง) (ฝ่ายปกครอง)
นายกฯ สำนักนายกฯ ค.ร.ม ร.ม.ต. กระทรวง กฎหมาย ร.ธ.น. พูดถึง กฎหมายปกครอง สถาบันการเมือง ฝ่ายปกครอง - การเข้าสู่อำนาจ อำนาจหน้าที่ในการ - อำนาจหน้าที่ในฐานะ จัดทำบริการสาธารณะ รัฐบาล (Act of (Administrative Act) Government)
7
ความหมายเชิงประวัติแนวคิด ร.ธ.น.
1.สมัยโบราณ อดีต คศ.1215 ไม่มีความหมายและขอบเขตชัดเจน พูดถึงการปกครองโรมัน ข้อบังคับการประชุมสภา ปกปิดศึกษาเฉพาะในหมู่ชนชั้นการปกครอง เป็นจารีตประเพณี / โองการของพระมหากษัตริย์
8
2. สมัยที่ 2 ค.ศ.1215 – คศ.1776 ขุนนาง 25 คน จับกษัตริย์ John ลงนามใน Magna Carta จำกัดอำนาจพระมหากษัตริย์ เสรีภาพในการนับถือศาสนา สัญญาว่าจะให้สิทธิและความยุติธรรม ไม่ขึ้นภาษีโดยปราศจากจากความเห็นชอบของราษฎรหรือผู้แทน ไม่เกณฑ์พลเมืองปรนนิบัติกองทัพ บุคคลใดจะถูกจับกุม คุมขัง ริบทรัพย์เนรเทศไม่ได้ เว้นแต่จะพิจารณาอันเที่ยงธรรมตาม ก.ม ของบ้านเมือง
9
รับรองสิทธิของประชาชนในการเคลื่อนย้ายภายในประเทศและการเดินทางออกนอกประเทศโดยเสรี
(อิทธิพลของ Magna Carta นี้มีต่อผู้อพยพไปอยู่อเมริกาและเป็นต้นเค้าของ ร.ธ.น.สหรัฐอเมริกา คนอมริกันจึงเทอดทูนเสรีภาพ ต่าง ๆ ตาม Magna Carta และเรียกว่าสิทธิเสรีภาพตามธรรมชาติ และกลายมาเป็นสิทธิมนุษยชน (Human Rights)
10
หาก King ผิดสัญญา Magna Carta ขุนนางมีสิทธิยึดอำนาจและจัดหา King ใหม่ได้
11
3. สมัยที่ 3 ค.ศ.1776 – ค.ศ.1945 เกิดเหตุการณ์สำคัญของโลก 2 เหตุการณ์คือ 1. การประกาศอิสรภาพในสหรัฐอเมริกา ค.ศ.1776 2. การปฏิวัติใหญ่ใน Fr. ค.ศ 1789 เป็นผลมาจากทฤษฎีสัญญาประชาคม (Social Contract) ถูกเสนอเพื่อสวนทางอำนาจของ King
12
มีการแปล Conceptร.ธ.นลายลักษณ์อักษรที่มีหลักการปกครองแบบประชาธิปไตย
ร.ธ.น เป็น ก.ม สูงสุด อำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชน มีหลักการแบ่งแยกอำนาจ หลักนิติรัฐ (Legal State) หลักประกันสิทธิเสรีภาพของประชาชน เรียกแนวคิดนี้ว่า ลัทธิรัฐธรรมนูญนิยม(Constitutionalism) แพร่ไปในประเทศที่มีการปกครองแบบประชาธิปไตย
13
สมัยที่ 4 หลังสงครามโลกครั้งที่ 2- ปัจจุบัน
เกิดองค์การสหประชาชาติ ร.ธ.น.เป็นสัญลักษณ์ความเป็นเอกราชเพียงพอที่จะติดต่อสัมพันธ์ระหว่างประเทศ มิใช่เอกสารประชาธิปไตย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.