งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การติดเชื้อไวรัสไข้เลือดออกในยุงลาย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การติดเชื้อไวรัสไข้เลือดออกในยุงลาย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การติดเชื้อไวรัสไข้เลือดออกในยุงลาย
ก่อนและหลังพ่นยา กอบกาญจน์ กาญจโนภาศ นักวิชาการสาธารณสุข 9 ชช สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง

2 ปัญหา/ที่มา DENGUE / DENGUE HAEMORRHAGIC FEVER :
A Rising Health Problem of Global Concern Tropical zone >100 countries 2.5 Billion at Risk (now including US) Million Cases 500,000 Hospitalized 25,000 Deaths Morbidity 1-3 weeks DHF DF ภาพจาก Suchitra Nimmannitya, MD, MPH Clinical Professor of Pediatrics QUEEN SIRIKIT NATIONAL INSTITUTE OF CHILD HEALTH (Children’s Hospital)

3 Morbidity Rate/100,000 population by province, 1987- 2004
88 89 90 91 92 Highly endemic in Thailand > 50 years 93 94 95 96 97 98 99 00 01 02 03 04

4 Morbidity Rate and Case Fatality Rate of Dengue,Thailand ;1958 - 2007
per 100,000 pop. percentage CFR MR Year Note : Dengue include DF/DHF/DSS Source : Bureau of Epidemiology Data as of Dec 31, 2003 Prepared by : Dengue Control Section, DDC Dept., Ministry of Public Health , Thailand

5 อัตราป่วยเปรียบเทียบกับ Dengue Serotype ปี 2516-2551
2. ข้อมูลรายงาน 506 (ณ วันที่ 24 ก.ย. 51)

6 DF/DHF Vectors Ae. aegypti Ae. albopictus

7 การควบคุมเมื่อโรคระบาด
มาตรการ : emergency priorities chemical control กำจัดตัวเต็มวัยด้วยการพ่นยาซึ่งสามารถยับยั้งการแพร่เชื้อฯได้ทันท่วงที (knock down infected mosquito) โดยคาดหวังว่า ยุงที่มีเชื้อไวรัสตายหมด หรือลดลง

8 วัตถุประสงค์ : เปรียบเทียบการติดเชื้อไวรัสไข้เลือดออกในยุง Ae.aegypti และ Ae.albopictus ก่อนและหลังพ่นยา

9 วิธีการ 1. พื้นที่ดำเนินการ
1. พื้นที่ดำเนินการ เลือกจังหวัดที่ข้อมูลชี้มีความชุกโรคไข้เลือดออกสูงและสะดวกต่อการนำส่งตัวอย่างยุงตรวจที่ห้อง lab ได้แก่ จังหวัดนครปฐม สมุทรสาคร และนนทบุรี

10 2. การจับยุง แหล่งจับยุง : บ้านผู้ป่วยที่แพทย์ระบุเป็น DHF และเพื่อนบ้าน 3-4 หลัง รัศมี 100 เมตร : จับยุงในบ้าน นอกบ้าน(ใกล้บ้าน)ช่วงเวลา น. อุปกรณ์จับยุง: ที่ช็อตยุงซึ่งลดกระแสไฟต่ำลงในระดับที่ยุงไม่ตาย

11 จับยุงตามแหล่งเกาะพัก

12

13 การเก็บตัวอย่างยุงส่งห้อง Lab:
- ยุงแต่ละชนิดแยกใส่หลอด cryo tube จำนวนไม่เกิน 30 ตัว/หลอด หลอดเก็บไว้ในถังไนโตรเจนเหลวหรือน้ำแข็งแห้ง - ส่งตรวจหาเชื้อไวรัสที่สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา (โครงการวิจัยและพัฒนาวัคซีน)

14 ถังเก็บตัวอย่างยุงส่งห้อง lab

15 3. การตรวจหาเชื้อไวรัสในยุง
3. การตรวจหาเชื้อไวรัสในยุง - วิธี RT-PCR และแยก serotype ด้วย 4. ข้อมูล - ร้อยละของแหล่งบ้านผู้ป่วยที่พบยุงมีเชื้อไวรัสฯ - ร้อยละการติดเชื้อไวรัสของยุงแต่ละชนิด

16 ผล ตารางที่ 1 จำนวนยุงที่จับได้ นครปฐม 9 66 2 25 0 6 0 26 2 123 4 127
จังหวัด จำนวน ก่อนพ่นยา หลังพ่นยา รายผู้ป่วย วัน วัน 7 วัน รวม(ตัว) รวมทั้งสิ้น(ตัว) aegypti albo aegypti albo aegypti albo aegypti albo aegypti albo นครปฐม *สมุทรสาคร *นนทบุรี , ,266 * ไม่มีการจับยุงหลังพ่นยา 5 วันจากปัญหาเจ้าของบ้านไม่สะดวกในการให้ความร่วมมือ

17 ตารางที่ 2 การพบเชื้อไวรัสไข้เลือดออกในยุงลาย
ตารางที่ การพบเชื้อไวรัสไข้เลือดออกในยุงลาย จังหวัด รายป่วย ก่อนพ่นยา หลังพ่นยา % pool ยุงที่ %รายป่วยที่ aegypti albopictus วัน วัน วัน positive พบยุงมีเชื้อ aegypti albopictus aegypti albopictus aegypti albopictus สมุทร pool สาคร (9 ตัว) Dengue pool (2 ตัว) Dengue 1 นนทบุรี pool pool Dengue 4 pool (30ตัว) Deng 4

18 วิจารณ์ ยุงทั้งหมด 1,266 ตัว
ได้ Ae.aegypti(1,214 ตัว) > Ae.albopictus (52 ตัว) ยุงชนิดแรกมีการติดเชื้อไวรัสมากกว่าชนิดหลัง แสดงถึงการเป็นพาหะสำคัญของยุงชนิดแรกบริเวณบ้านคน ให้ positive ประมาณ % ส่วนมากพบใน pool ที่มีจำนวนตัวยุงน้อย(2-9ตัว) เปรียบเทียบกับการศึกษาในสิงคโปร์โดย Chow และคณะ(1998) เก็บตัวอย่างยุงในพื้นที่ dengue-sensitive areas ช่วงปี พบว่า pools ให้ positive ประมาณ 20% 23 pools Ae.aegypti มี 1-17 ตัว โดย 18 pools (78. 3%) เป็นDengue 1 40 pools Ae.albopictus มี 1-33 ตัว โดย 31pools (77.5%) เป็น Dengue 1 โดย minimum infection rate ใกล้เคียงกัน 57.6 กับ 50 per 1,000 mosquitoes ?

19 ไม่สามารถเปรียบเทียบการติดเชื้อ ฯ ของยุง ก่อน และหลังพ่นยาได้
% รายป่วย จังหวัดสมุทรสาคร และนนทบุรี เท่ากับ และ ตามลำดับ อยู่ในเกณฑ์สูง และหลังพ่นยายังพบยุงมีเชื้อไวรัส สาเหตุอาจมาจาก 1. ยุงดื้อต่อสารเคมี ตอนเหนือของอินเดีย : Ae.aegypti ดื้อ marathion ปี 2006 ที่โรงพยาบาล AIIMS แพทย์ประจำบ้านจำนวนมากป่วยและ 1รายตาย ด้วยไข้เลือดออกทั้งๆที่มีการพ่นยาอย่างต่อเนื่องเมื่อเดือนที่ผ่านมา แพทย์และเจ้าหน้าที่ ทุกคนลงความเห็นว่า ยุงดื้อต่อยา จึงดำเนินการศึกษาวิจัย Latin America : Ae.aegypti และ Cx.quinquefasciatus ดื้อ malathion ปัจจุบัน บางประเทศใช้ combination insecticide

20 2. คุณภาพของการพ่นยา - ทักษะผู้พ่น (การผสมน้ำยา ช่วงเวลาที่พ่น ความครอบคลุมพื้นที่ ฯลฯ) - อุปกรณ์ที่ใช้พ่น - คุณภาพสารเคมี - ฤดูกาล ฯลฯ

21 ใช้ดัชนีจากยุงเพศผู้มาตรวจหาเชื้อไวรัส
Transovarian ใช้ดัชนีจากยุงเพศผู้มาตรวจหาเชื้อไวรัส ปี 2006, อุษาวดี และคณะ พบ Ae.aegypti และ Ae.albopictus จาก จังหวัดกระบี่ ภูเก็ต พังงาและสุราษฎร์ธานี มี Den – 2 และทั้ง Den – 2 กับ Den – 3 ในตัวเดียวกัน

22 ดังนั้น เมื่อเกิดการระบาดโรคไข้เลือดออก(outbreak)
พ่นยา 0 วัน และ 7 วัน ตามมาตรฐานฯของสำนักแมลง มาตรการเสริมร่วมด้วย คือ กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงและให้สุขศึกษาประชาชน ป้องกันยุงกัด

23 ข้อเสนอแนะ 1. ควรนำไปใช้ประเมินผลการควบคุมโรคเพื่อชี้ประสิทธิผลของการพ่นยา 2. การสอบสวนทางระบาดวิทยา : ข้อมูลทางกีฏวิทยาอาจให้คำตอบได้ กรณีผลตรวจ case ให้ negative 3. Future prospective field survey 3-5 ปี ที่สิงคโปร์ : Dengue virus infection rate in field population of female Ae.aegypti and Ae.albopictus in Singapore ปี 1997 – 2000 (4 ปี) Ae.aegypti 6.9% (54 of 781) Ae.albopictus 2.9% (67 of 2,256) ทำให้เห็นการเปลี่ยนแปลง Serotype เชื้อไวรัสในยุง (virological surveillance in mosquitoes) การใช้ที่ช็อตจับยุงมีผลต่อการสลายเชื้อในยุงหรือไม่ ? อาจต้องใช้ ovitrap

24 ปัญหา/อุปสรรค การพ่นยากำจัดยุงเต็มวัยภายใน 24 ชั่วโมงตามมาตรฐาน
เจ้าของบ้านไม่อยู่บ้าน สภาพแวดล้อมบ้านที่เหมาะสมต่อการมียุงลาย ทีมปฏิบัติงานทางกีฏวิทยา ความพร้อมทางห้อง Lab

25 ขอขอบคุณทุกท่าน


ดาวน์โหลด ppt การติดเชื้อไวรัสไข้เลือดออกในยุงลาย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google