งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
นาง ปรารถนา ถาวรวงศ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลท่ายาง

2 วางแผน ดำเนินการ ติดตาม ประเมินผล ขยายเครือข่าย
นำระบาดวิทยาไปใช้การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่ได้อย่างไร? วางแผน ดำเนินการ ติดตาม ประเมินผล ขยายเครือข่าย

3 บริบทโรงพยาบาลท่ายาง
โรงพยาบาลท่ายาง เป็นโรงพยาบาล ชุมชน 60 เตียง ตั้งอยู่ที่หมู่ 1 ต. ท่ายาง อ. ท่ายาง จ. เพชรบุรี มี เขตรับผิดชอบเป็นพื้นที่ขุมขนเมือง กึ่งชนบทจำนวน 5 หมู่บ้าน 12 ชุมชน มีประชากร 11,350 คน ส่วนใหญ่มีอาขีพค้าขาย รองลงมา คือ เกษตรกรรม และรับจ้าง

4 ข้อมูลสุขภาพ ร้านขายยา 6 แห่ง
ปัญหาโรคและภัยสุขภาพได้แก่ พิษจากสารเคมี กำจัดศัตรูพืช อุบัติเหตุจราจร จมน้ำ โรคไข้เลือดออก อาหารเป็นพิษ สุกใส และ มือเท้าปากเป็นต้น มีโรงพยาบาลชุมชน 1 โรง คลินิก 13 แห่ง ร้านขายยา แห่ง

5 การดำเนินงาน ( กิจกรรม )
การดำเนินงาน ( กิจกรรม ) ประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งแรกในปี 53 จัดทำแผนที่เดินดินทุกชุมชน จัดทำทะเบียนเครือข่าย ประกอบด้วย ชื่อ-สกุล ที่อยู่ (ชุมชน) ประเภทของสมาชิก เบอร์โทรศัพท์ Line

6 การติดตามและประเมินผล
มีการติดตามและประเมินผลการแจ้งข่าว โดยใช้ การประชุม อสม. โทรศัพท์ face book Line และการลงพื้นที่ มีการสัมมนาเครือข่ายปีละ 1 ครั้ง มีการประชุมติดตาม ปีละ 2 ครั้งเป็นอย่างน้อย

7 การขยายเครือข่าย ปี 2553 2554 2555 2556 โรงพยาบาล เทศบาล ผู้นำชุมชน อสม. ครู สื่อมวลชน คลินิก เครือข่ายนอกพื้นที่ ศูนย์เด็กเล็ก ร้านขายยา ร้านเสริมสวย วัด ร้านชำ ร้านอาหาร ห้างโลตัส โรงงาน สหกรณ์การเกษตร

8 กางแผนที่ดู ชี้จุด ทะเบียนรายงาน เหตุการณ์จากชุมชน

9 ติดตามเครือข่ายห้างโลตัสและโรงงานเอเชี่ยนฟีด

10 เกณฑ์การแจ้งข่าว จากโรงพยาบาล สู่ชุมชน
เกณฑ์การแจ้งข่าว จากโรงพยาบาล สู่ชุมชน แจ้งข่าวเครือข่ายทุกคนทราบเมื่อมีโรคที่ต้องเฝ้าระวัง เมี่อมีผู้ป่วยด้วยโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา แจ้งเทศบาลตำบลท่ายาง และอสม. ผู้รับผิดชอบพื้นที่ ทุกราย แจ้งโรงเรียน สถานประกอบการ ทราบเมื่อเป็น case จากโรงเรียน หรือสถานประกอบการนั้นๆ

11 โอกาสพัฒนา นำอุปกรณ์สื่อสารมาใช้ในการเก็บข้อมูลให้มี ประสิทธิภาพมากขึ้น มีสายด่วนแจ้งข่าวโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย มีศูนย์เฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพในชุมชน พัฒนาเครือข่ายรองรับ AEC

12 ผลการดำเนินงาน มีการแจ้งข่าวผู้ป่วยที่รับการรักษา จากคลินิก โรงพยาบาล เอกชนและซื้อยาทานเอง สามารถควบคุมโรคได้สงบ โดยยังไม่เข้าสู่ระบบโรงพยาบาล เช่น การแจ้งข่าวโรคมือ เท้า ปาก จากชุมชนท่าพุ่งในปี 2553และชุมชนระหานบอน ในปี 2555 การแจ้งข่าวระบาดโรคสุกใส ในโรงเรียนเบญจมเทพอุทิศจังหวัดเพชรบุรี ในปี และ โรงเรียนคุมองต์ ในปี 2555 มีความตื่นตัวในการเฝ้าระวังโรค เช่น การรับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ การดำเนินงานควบคุมโรคของเทศบาล โรงเรียน และ โรงงาน -

13 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกและอุจจาระร่วง ปี 2554-2556

14 ปัญหาอุปสรรคที่พบ เครือข่าย ประชากรส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นชุมชนเมือง
เครือข่ายไม่เห็นความสำคัญของการแจ้งข่าว มีการเปลี่ยนแปลงของบุคลากรใน เครือข่าย ประชากรส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นชุมชนเมือง - 14

15 โอกาสพัฒนา นำอุปกรณ์สื่อสารมาใช้ในการเก็บข้อมูลให้มี ประสิทธิภาพมากขึ้น มีสายด่วนแจ้งข่าวโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย มีศูนย์เฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพในชุมชน พัฒนาเครือข่ายรองรับ AEC

16 ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
ผู้บริหารให้การสนับสนุน มีการใช้ทรัพยากรในพื้นที่ให้เกิดประโยชน์ การติดตามและประเมินผล การดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง การประสานงานที่ดี การให้ข้อมูลข่าวสาร และการให้ความ ร่วมมือจากทุกภาคส่วน

17 สวัสดีค่ะ


ดาวน์โหลด ppt การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google