ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยRamphoei Amornchantanakorn ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
-----------------------------------------------
ไฟใต้หลังเลือกตั้งในมิติการกระจายอำนาจ: ภาพอนาคตที่ควรเป็น วันที่ 27 มิถุนายน 2554 เวลา – น. สโมสรผู้สื่อข่าวต่างประเทศ
2
กระบวนการเริ่มต้นอย่างไร?
มุมมอง – ความขัดแย้งเชิงอัตลักษณ์ (Identity-based Conflict) ประวัติศาสตร์ – ชาติพันธุ์ – ศาสนา ระหว่างรัฐไทยกับกลุ่มขบวนการ ฐานคิด – ประชาชนส่วนใหญ่ต้องการอะไร? อยากเห็นการเมืองการปกครองในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นอย่างไร? กระบวนการ – 50 เวที : 1,427 คนทั้งพุทธและมุสลิม
3
แกนนำองค์กรพัฒนาเอกชน
1,427 คน 50 เวที อุสตาซ โต๊ะครู ครู/อาจารย์ นักวิชาการ นักเรียน/นักศึกษา แกนนำองค์กรพัฒนาเอกชน นักธุรกิจ นักการเมือง สื่อมวลชน ทหาร/ตำรวจ/ปกครอง ประมง/เกษตรกร อดีตแนวร่วม ชุมชนไทยพุทธ กระบวนการรับฟังความเห็น เครือข่ายประชาสังคมเพื่อการ กระจายอำนาจจังหวัดชายแดนภาคใต้ สถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลาย ทางวัฒนธรรม มอ.ปัตตานี ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ คณะกรรมการภาคประชาสังคม สภาพัฒนาการเมือง สำนักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า “คนในทำ – คนนอกหนุน”
4
ภาพอนาคตที่ควรจะเป็นในเชิงเนื้อหา?
ความต้องการของประชาชนส่วนหนึ่งในจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ผลสรุปจาก 50 เวที) 1. อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2. มีการปกครองที่เป็นธรรม ทุกฝ่ายมีที่ยืน ไม่เลือกปฏิบัติ เสมอภาคเท่าเทียมตามกฎหมาย คำนึงถึงอัตลักษณ์ที่แตกต่าง มีหลักประกันสิทธิเสรีภาพของคนส่วนน้อย 3. มีผู้บริหารสูงสุดในการปกครองที่เป็นคนพื้นที่ เข้าใจวิถีและความต้องการท้องถิ่น และมี จำนวนข้าราชการพุทธและมุสลิมในสัดส่วนที่สอดคล้องกับจำนวนประชากรในพื้นที่ 4. มีกลไกที่เอื้อให้ประชาชนสามารถคิดริเริ่ม เสนอแนะ และตัดสินใจเชิงนโยบายที่เกี่ยวกับ ท้องถิ่นในระดับที่ทำให้ประชาชนรู้สึกว่ามีอำนาจในการจัดการตนเองจริง 5. มีระบบการคัดเลือกกลั่นกรองผู้สมัครรับเลือกตั้งที่ลดความแตกแยกและเอื้อให้บุคคลที่มี คุณธรรมเข้าสู่ระบบการเมืองมากขึ้น
5
ภาพอนาคตที่ควรจะเป็นในเชิงเนื้อหา?
ความต้องการของประชาชนส่วนหนึ่งในจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ผลสรุปจาก 50 เวที) 6. มีการใช้สองภาษา คือ ภาษาไทยและมลายูควบคู่กันบนสถานที่และป้ายของทางราชการ 7. มีหลักสูตรการศึกษาที่บูรณาการสายสามัญและศาสนา รวมทั้งสอนวิชาภาษามลายูอย่าง เป็นระบบในลักษณะที่ทำให้ผู้ปกครองจากทุกกลุ่มวัฒนธรรมสบายใจที่จะส่งลูกหลาน มาเรียน 8. บังคับใช้กฎหมายอิสลามกับคนมุสลิมทั้งในแง่ของบทบัญญัติ การวินิจฉัยตัดสิน และการมีสภาพบังคับโดยเน้นที่มิติด้านครอบครัวและมรดก
6
? เสียง “ส่วนใหญ่” จะเหมือนหรือต่าง จาก “ส่วนหนึ่ง” ?
? จะขยายวงจาก “ส่วนหนึ่ง” เป็น “ส่วนใหญ่” อย่างไร ?
7
รูปแบบการบริหารปกครองใด ที่จะสามารถตอบสนองต่อความต้องการเหล่านี้ได้?
8
ความเป็นไปได้ในอนาคต
ข้อท้าทาย ความเป็นไปได้ในอนาคต ปัตตานีมหานคร: ท้องถิ่นรูปแบบพิเศษภายใต้รัฐธรรมนูญไทย 1. บนกระดาษ 2. ประชาชนเข้าชื่อเสนอสภาฯ 3. รัฐบาลเสนอ 4. สส.เข้าชื่อเสนอ
9
ภาพปัจจุบัน ความหวาดระแวงของสังคมใหญ่ ประชาสังคมนอกพื้นที่
อนุรักษ์นิยม VS เสรีนิยม การเมือง 2 ขั้ว ไร้เสถียรภาพ ผู้เกี่ยวข้องยังเห็นต่าง ขบวนการบางส่วน ไม่เชื่อว่าเป็นไปได้ ประชาสังคมในพื้นที่
10
ภาพอนาคต ภาพการเคลื่อนไหวภายในจังหวัดชายแดนภาคใต้
ภาพการเคลื่อนไหวระหว่างคู่ขัดแย้ง ภาพการเคลื่อนไหวที่ต่อเชื่อมสังคมใหญ่
11
สิ่งที่ต้องดำเนินการต่อไป
ข้อท้าทาย สิ่งที่ต้องดำเนินการต่อไป 1. ผู้เกี่ยวข้องมองปัญหาด้วยมุมต่างกัน สร้างพื้นที่ขยายวงถกเถียงครอบคลุมทุกภาคส่วน สื่อสารกับสังคมใหญ่ให้เริ่มมองทางออกทางการเมืองนี้ 2. ขบวนการส่วนหนึ่งรู้สึกว่ากลุ่มที่ เคลื่อนไหวนี้เป็น “พวกฉวยโอกาส” สื่อสารกับกลุ่มขบวนการอย่างต่อเนื่องเพื่อสร้างความเข้าใจร่วม เปิดพื้นที่ทางการเมืองให้ร่วมเป็นส่วนหนึ่ง 3. สังคมส่วนหนึ่งมองว่าเป็นเพียงความ ต้องการของคนไม่กี่กลุ่มโดยเฉพาะ “ชนชั้นนำ (Elite)” สร้างพื้นที่ขยายวงถกเถียงครอบคลุมทุกภาคส่วนถึงฐานชุมชน 4. หลายฝ่ายไม่เชื่อว่าจะเป็นจริงได้ ระเบิดจากข้างใน หนุนเสริมจากข้างนอก ทั้งหมดทำโดยประชาสังคมเพื่อสร้างกระแส/แรงขับดัน สื่อสารวงเล็กกับกลุ่มพลังในสังคม ผลักดันพื้นที่เย็น “เชียงใหม่มหานคร” “มหานครราชสีมา” 5. ถูกผูกโยงกับความขัดแย้งทางการเมือง/ รับงานพรรคการเมือง สื่อสารกับสังคมใหญ่สร้างเข้าใจ ทำกระบวนการขับเคลื่อนให้ต่อเนื่อง
12
ขบวน- การ รัฐ กลุ่มประชาสังคม
(Insurgents) รัฐ (State) พื้นที่ต่อรอง (Negotiating range) รวมศูนย์ (Concentration) กระจายอำนาจ (อบจ./เทศบาล/อบต.) ถ่ายโอนตามเจตนารมณ์ (Devolved Current Local Administration) กระจายอำนาจ (ท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ) (Special Form of Local Administration) เขตปกครองพิเศษ (Autonomous Region) เอกราช (Independence) (เปิด)พื้นที่ทางการเมือง (Increased Space for Political Debate) กลุ่มประชาสังคม (CSO)
13
ประชาธิปัตย์ เพื่อไทย ภูมิใจไทย ชาติไทยพัฒนา มาตุภูมิ ความหวังใหม่
รวมศูนย์ (Concentration) กระจายอำนาจ (อบจ./เทศบาล/อบต.) ถ่ายโอนตามเจตนารมณ์ (Devolved Current Local Administration) กระจายอำนาจ (ท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ) (Special Form of Local Administration) เขตปกครองพิเศษ (Autonomous Region) เอกราช (Independence) ประชาธิปัตย์ เพื่อไทย ภูมิใจไทย ชาติไทยพัฒนา ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน มาตุภูมิ แทนคุณแผ่นดิน ประชาธรรม? ความหวังใหม่
14
ข่ายใยกลุ่มพลังประเด็นการกระจายอำนาจจัดการตัวเอง คณะกรรมการ
ปฏิรูปประเทศไทย เครือข่ายจังหวัดจัดการตัวเอง 26 จังหวัด (เหนือ8-อีสาน8-กลาง5-ใต้5) คณะกรรมการประชาสังคม สภาพัฒนาการเมือง สื่อมวลชน (ระดับชาติ-ท้องถิ่น) เครือข่ายประชาสังคมเพื่อการกระจายอำนาจ จชต. เชื่อมต่อประชาสังคมจังหวัดชายแดนภาคใต้กับส่วนกลางและจังหวัดอื่นๆ ขยายพื้นที่พูดคุย – ทำให้เรื่อง “ต้องห้าม” เป็นเรื่อง “เฉยๆ”/ ให้ “เฉพาะกลุ่ม” เป็น “ทุกกลุ่ม” สร้างความเข้าใจทั้งภายในพื้นที่และสังคมใหญ่ – ไม่ใช่แยกดินแดน/นครรัฐ/รัฐปัตตานี
16
เชียงใหม่มหานคร อำนาจเจริญ มหานครหาดใหญ่ มหานครราชสีมา มหานครขอนแก่น
นครปัตตานี ปัตตานีมหานคร ประชาสังคม ขั้วการเมือง ขั้วการเมือง ประชาสังคม ทิศทางมุ่งไปสู่จังหวัดจัดการตัวเอง (ทั้งการเมือง – ประชาสังคม) การเมืองรับลูกภาคประชาสังคมเชียงใหม่ ผลักดัน “เชียงใหม่มหานคร” (ปี 2555) พื้นที่อื่นก่อน ปัตตานีตาม พร้อมก่อนเกิดก่อน – เพิ่มความเชื่อมั่น สร้างความเข้าใจ สนับสนุนให้ภาคประชาสังคมในพื้นที่เป็นเจ้าของ เป็นผู้ยื่นสู่สภาฯ
17
ไม่ว่าจะมีเสียงปืนหรือไม่ ประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้
ก็ควรมีสิทธิดูแลจัดการท้องถิ่นของตัวเอง ขอขอบพระคุณ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.