งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
ประเด็นสำคัญ ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ

2 กลุ่มโรคไข้หวัดใหญ่และปอดอักเสบ
กรณีที่ต้องสอบสวน ปอดบวม หรือ ILI ที่มีประวัติ สัมผัสสัตว์ปีก ในรอบ 7 วัน ก่อนเริ่มป่วย อยู่ในหมู่บ้านที่มีสัตว์ปีกป่วย/ตายในรอบ 14 วันก่อนเริ่มป่วย สัมผัส/อยู่ร่วมสถานที่กับผู้ป่วยปอดบวม/ ILI ในรอบ 10 วันก่อนเริ่มป่วย มีปอดบวม 2 ราย ในครอบครัวเดียวกัน มีปอดบวม 1 ราย ในบุคลากรในโรงพยาบาล ผู้ป่วยในโรงพยาบาลเกิด Hospital acquire pneumonia มีปอดบวม 2 ราย หรือ Influenza like illness > 5 ราย ในชุมชนเดียวกัน โรงเรียน/หมู่บ้าน/ที่ทำงาน/เรือนจำ/สถานเลี้ยงเด็ก

3 ประเด็นการสอบสวนโรคที่สำคัญ
ข้อมูลผู้ป่วย อาการ อาการแสดง วันเริ่มป่วย อาการ ไข้ (ระบุ temp ด้วย) อาการของระบบทางเดินหายใจ การร่วมอื่น ๆ วันที่ทำ CBC, CXR, พร้อมทั้งระบุผล วันที่ทำ Rapid Influenza test ชนิดที่ใช้ ผล การให้ยาต้านไวรัส กรณีที่เป็นผู้ป่วยสงสัย/ ยืนยัน/ เสียชีวิตด้วย pneumonia ให้ถ่ายภาพ CXR ด้วยกล้องดิจิตอล เพื่อประกอบการพิจารณาของผู้เชี่ยวชาญ

4 Clinical progression date
In these 11 cases, the incubation period ranged from 2 to 8 days median was 4 days. Pneumonia developed at day 6 to 12 and all fatal cases rapidly turned to ARDS at day 8 to 18 as this series of chest x-rays from one case demonstrates.

5 ต่อ ประวัติการสัมผัสกับปัจจัยเสี่ยง
สัตว์ที่สงสัย จำนวน วันเวลาที่สัมผัส ครั้งสุดท้ายที่สัมผัส ลักษณะการสัมผัส (อธิบาย) การสัมผัสกับผู้ป่วยปอดอักเสบรายอื่น ก่อนป่วย การเก็บวัตถุตัวอย่าง ชนิดที่เก็บ วันที่เก็บ การนำส่ง จัดทำทะเบียนผู้สัมผัส ในครอบครัว HCWs ติดตามอาการ : ผู้ป่วย ทุกวัน เพื่อดูการเปลี่ยนแปลง ผู้สัมผัส ติดตามอาการจนกว่าจะครบ 10 วัน

6

7 กลุ่มโรคที่นำโดยแมลง
โรคไข้เลือดออก กรณีที่สอบสวน ผู้ป่วยสงสัยรายแรกของพื้นที่ ผู้ป่วยนอกฤดูกาล ผู้ป่วยที่เสียชีวิต เพื่อ ยืนยันการวินิจฉัย ทราบสาเหตุของความรุนแรง

8 ครั้งใหม่ จะปล่อยเชื้อ
โรคไข้เลือดออกเกิดขึ้นได้อย่างไร เชื้อไวรัสจะเข้าไปเจริญในยุง แล้วไปอยู่ในต่อมน้ำลาย ยุงลายบ้าน (Aedes aegypti) กินเลือดผู้ป่วย ยุงลายกินเลือดคน ครั้งใหม่ จะปล่อยเชื้อ ยุง คน เชื้อไวรัสเดงกี จะอยู่ในกระแสเลือดขณะมีไข้ เชื้อไวรัสเข้าสู่คน อาจเป็นเชื้อ DEN-1 หรือ DEN-2 หรือ DEN-3 หรือ DEN-4 แล้วเพิ่มจำนวนในเซล ป่วย สำนักงานควบคุมโรคไข้เลือดออก 1

9 การแพร่เชื้อ Dengue virus
ไวรัสในกระแสโลหิต ยุงมีเชื้อตลอด 1- 2 เดือน ระยะฟักตัวในยุง 8 -10 วัน กัดเด็ก คนไข้ ขณะมีไข้สูง ระยะฟักตัวในคน 5 - 8 วัน

10 ประเด็นการสอบสวนที่สำคัญ
ยืนยันการวินิจฉัยโรค อาการ และอาการแสดง ของผู้ป่วย เข้าได้กับ DHF ? ผล Lab:- WBC, Hct, Plt, IgM ต่อ Dengue virus ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต โรคประจำตัว

11 ประเด็นการสอบสวนที่สำคัญ
การค้นหาขอบเขตการกระจายของโรคในชุมชน:- ค้นหาผู้ป่วยรายอื่น ๆ สำรวจสภาพแวดล้อมในพื้นที่:- เพื่อค้นหาปัจจัยสนับสนุนการเกิดโรค สรุปผล และเสนอแนะมาตรการควบคุมป้องกันโรคที่เหมาะสมต่อสถานการณ์ และปฏิบัติได้จริง

12 ผลการวิเคราะห์ รายงานสอบสวนโรค ในอดีตที่ผ่านมา

13 จุดอ่อนของรายงานการสอบสวนโรค
ความเป็นมา:- ยังไม่ครอบคลุมประเด็นที่ควรจะมี เช่น ข้อมูลของ index case ความจำเป็นที่ต้องสอบสวนโรค ทีมสอบสวน ระยะเวลาที่ออกสอบสวน วัตถุประสงค์ของการสอบสวนโรค ไม่ชัดเจน วิธีการสอบสวนไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ การตั้งนิยามผู้ป่วย เพื่อการค้นหาผู้ป่วยเพิ่มเติม ส่วนใหญ่ไม่ถูกต้อง ไม่ครอบคลุม

14 จุดอ่อนของรายงานสอบสวนโรค
ไม่ตอบสนองวัตถุประสงค์ของการสอบสวนโรค :- ขนาดของปัญหาการเกิดโรคในครั้งนั้น, ขอบเขต การเกิดโรคไม่ชัดเจน, การถ่ายทอดโรค, ปัจจัย สนับสนุนให้เกิดการแพร่ระบาด เป็นต้น จึงเสมือน เป็นเพียง การบอกข่าว ขาดความครบถ้วนในประเด็นสำคัญ ที่ควรจะมี ลำดับขั้นตอนการเขียนรายงาน วกวน เข้าใจยาก มีเนื้อหามากเกินความจำเป็น เช่น การลอกรายละเอียดใน chart มาเกือบทั้งหมด

15 ต่อ สรุปและอภิปรายผล :- หลักฐานที่ได้จากการสอบสวนโรคสรุป สาเหตุ ตัวการแพร่กระจาย ข้อจำกัด/ปัญหาอุปสรรค ของการสอบสวนโรค ข้อเสนอเพื่อการควบคุมป้องกันการระบาดในแต่ละครั้ง ยังไม่จำเพาะและเหมาะสมกับสถานการณ์จริง :- การให้ยาแก่ผู้สัมผัสมากเกินความจำเป็น ในกรณีการสอบสวนผู้เสียชีวิต-ทำไมจึงตาย เช่น ความรุนแรงของโรคจากเชื้อตัวใหม่ หรือการเปลี่ยนสายพันธุ์ของเชื้อ หรือ สืบเนื่องจากบริการทางการแพทย์ หรือจากความไม่รู้ของประชาชน หรือ อื่น ๆ ซึ่งในการสอบสวนควรจะระบุสาเหตุที่น่าจะเป็นไปได้มากที่สุด เพื่อการให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์สูงสุดต่อการแก้ปัญหาที่แท้จริง

16 ความมุ่งมั่น พยายาม คือ หนทางสู่ความสำเร็จ สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google