งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา โรคท้องร่วงเฉียบพลัน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา โรคท้องร่วงเฉียบพลัน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา โรคท้องร่วงเฉียบพลัน
ชื่อ-สกุล HN………… อายุ ปี น้ำหนัก กก. ว/ด/ป เวลา น. ซักประวัติ กรณีที่ ไม่ให้ ยาปฏิชีวนะ 1. อาหารเป็นพิษ  มีอาการอาเจียนเป็นอาการเด่น 2. ท้องร่วงชนิด Non-invasive  ถ่ายอุจจาระเหลวจำนวน 3 ครั้งต่อวันหรือมากกว่า หรือถ่ายมีมูก หรือถ่ายเป็นน้ำอย่างน้อย 1 ครั้ง กรณีที่ ควร ให้ยาปฏิชีวนะ 1. ท้องร่วงชนิด Invasive  มีไข้ > 38๐C และอุจจาระมีเลือดปนเห็นได้ด้วยตาเปล่า (หรือตรวจพบ RBC และ WBC ในอุจจาระ) ให้ Norfloxacin 5 วัน  ผู้ใหญ่ : 400 mg bid ac / 10 เม็ด  เด็ก : mg/kg/day bid ac ……………………./……..เม็ด หมายเหตุ ยาปฏิชีวนะที่ไม่ควรใช้ในกรณีนี้ ได้แก่ Ampicillin , Amoxicillin , Co-amoxiclav , Cephalosporins , Macrolides , Ofloxacin , Ciprofloxacin , Chloramphenicol , Colistin , Tetracyclines และ Co-trimoxazole แพทย์ผู้สั่ง

2 แผลเลือดออก (ทั้งชนิดที่ต้องเย็บแผลและไม่ต้องเย็บแผล)
แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา แผลเลือดออก (ทั้งชนิดที่ต้องเย็บแผลและไม่ต้องเย็บแผล) ชื่อ-สกุล HN………… อายุ ปี น้ำหนัก กก. ว/ด/ป เวลา น. ซักประวัติ ระยะเวลาการเกิดแผล (หากนานกว่า 6 ชม.และไม่ได้รับการทำความสะอาดอาจจะมีโอกาสติดเชื้อ - ดูลักษณะแผล / ความสกปรก / เนื้อตาย / ขนาดแผล กรณีที่ ไม่ให้ ยาปฏิชีวนะ 1. แผลสะอาด  ผู้ป่วยมาถึงหน่วยบริการภายใน 6 ชั่วโมง  แผลขอบเรียบ ทำความสะอาดง่าย  ไม่มีเนื้อตาย  ไม่มีสิ่งสกปรกติดในแผล หรือมีแต่ล้างออกง่าย ไม่ปนเปื้อนสิ่งที่มีแบคทีเรียมาก เช่น มูลสัตว์ น้ำคร่ำ กรณีที่ ที่ควรให้ ยาปฏิชีวนะ 1. แผลสะอาด ที่มีลักษณะดังนี้  แผลที่เท้า  แผลจากการบดอัด เช่น ประตูหนีบ  แผลขอบไม่เรียบ เย็บแผลได้ไม่สนิท  แผลในผู้ป่วยเบาหวาน พิษสุราเรื้อรัง โรคหลอดเลือดส่วนปลายตีบ ผู้มีภูมิคุ้มกันต่ำ หรือใช้ยากดภูมิคุ้มกัน 2. แผลปนเปื้อน  ถูกวัตถุทิ่มตำเป็นรู ทำความสะอาดยาก  มีเนื้อตายเป็นบริเวณกว้าง  มีสิ่งสกปรกติดอยู่ในแผลล้างออกไม่หมด ปนเปื้อนสิ่งที่มีแบคทีเรียมาก เช่น มูลสัตว์ น้ำคร่ำ การให้ยาป้องกันการติดเชื้อ  ให้ Dicloxacillin 2 วัน  ผู้ใหญ่ : 250 mg ก่อนอาหาร วันละ 4 ครั้ง/ 8 เม็ด  ให้ Cloxacillin 2 วัน  เด็ก : 250 mg ( mg/kg/day) วันละ 4 ครั้ง ก่อนอาหาร / เม็ด/ขวด การให้ยาป้องกันการติดเชื้อ  ให้ Augmentin 2 วัน  ผู้ใหญ่ : 375 mg วันละ 3 ครั้ง/ 6 เม็ด  เด็ก : 156 mg (คำนวณจาก amoxicillin mg/kg/day) วันละ 3 ครั้ง / เม็ด/ขวด  ให้ Clindamycin 2 วัน  ผู้ใหญ่ : 300 mg วันละ 4 ครั้ง 8 เม็ด  เด็ก : mg/kg/day วันละ 4 ครั้ง / เม็ด แพทย์ผู้สั่ง

3 โรคระบบทางเดินหายใจส่วนบน
แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา โรคระบบทางเดินหายใจส่วนบน ชื่อ-สกุล HN………… อายุ ปี น้ำหนัก กก. ว/ด/ป เวลา น. ซักประวัติ ส่วนใหญ่ 80 % เกิดจากเชื้อไวรัสหรือสาเหตุอื่นๆ เช่น ภูมิแพ้ ไม่ต้องให้ยาปฏิชีวนะ - ส่วนน้อยเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งควรให้ยาปฏิชีวนะ กรณีที่ ไม่ให้ ยาปฏิชีวนะ หวัด - เจ็บคอ (Common cold) คออักเสบ (Pharyngitis)  ตาแดง น้ำตาไหล ไอ ท้องเสีย (ในเด็ก)  เสียงแหบ มีน้ำมูกใส มีน้ำมูกมาก จามบ่อย  มีไข้ต่ำๆ หรือไม่มีไข้  เจ็บคอไม่มาก มีผื่น มีแผลในช่องปาก  การมีไข้สูง เช่น 39๐C - 40๐C ร่วมกับอาการข้างต้น กรณีที่ ควรให้ ยาปฏิชีวนะ 1. ต่อมทอนซิลอักเสบหรือคอหอยอักเสบ จากเชื้อ Group A beta hemolytic streptococcus (GABSH)  มีไข้สูงเช่น 38๐C ร่วมกับอาการเจ็บคอมาก มีจุดขาวที่ต่อมทอนซิล ลิ้นไก่บวมแดง มีฝ้า ขาวที่ลิ้น อาจมีจุดเลือดออกที่เพดานปาก ไม่มีอาการของโรคหวัด (เช่น น้ำมูก ไอ จาม ที่เด่นชัด) 2. หูชั้นกลางอักเสบ  มีไข้ ปวดหู  มีอาการหลังจากเป็นหวัด 3. ไซนัสอักเสบ ไซนัสอักเสบเฉียบพลัน ที่มีอาการต่อเนื่องนานเกิน 7 วัน ให้ Amoxicillin วัน ผู้ใหญ่ : 500 mg วันละ 3 ครั้ง/ เม็ด ผู้ใหญ่ : mg เม็ด (เพิ่มขนาดยาเป็น 2 เท่าหากคาดว่าเชื้อดื้อยา)  เด็ก : 80 mg/kg/day วันละ 2-3 ครั้ง mg./ เม็ด (สูงสุดไม่เกิน 2 gm/day) ให้ Amoxicillin วัน ผู้ใหญ่ : 500 mg วันละ 3 ครั้ง/ เม็ด ผู้ใหญ่ : mg เม็ด (เพิ่มขนาดยาเป็น 2 เท่าหากคาดว่าเชื้อดื้อยา)  เด็ก : 80 mg/kg/day วันละ 2-3 ครั้ง mg./ เม็ด (สูงสุดไม่เกิน 2 gm/day) กรณีแพ้ Penicillin ให้ Roxithromycin 10–14 วัน ผู้ใหญ่ : mg bid ac /…………...เม็ด หรือ ผู้ใหญ่ : 300 mg OD ac /…………...เม็ด เด็ก : 100 mg (หรือ 5-8 mg/kg/day) bid ac……………./……….เม็ด ให้ Erythromycin เด็ก : mg/kg/day วันละ 2-4 ครั้ง /…………...……./……….เม็ด  ให้ Penicillin V 10 วัน  ผู้ใหญ่ : 500 mg วันละ 2-3 ครั้ง/ เม็ด  เด็ก : mg (หรือ mg/kg/day) วันละ 2-3 ครั้ง/ เม็ด หรือ ให้ Amoxicillin วัน  ผู้ใหญ่ : 500 mg วันละ 2-3 ครั้ง/ เม็ด  เด็ก : 250 mg (หรือ mg/kg/day) แพทย์ผู้สั่ง


ดาวน์โหลด ppt แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา โรคท้องร่วงเฉียบพลัน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google