ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
(Variables and Data Type)
2
ตัวแปร ตัวแปร หมายถึง เนื้อที่ในหน่วยความจำหลักที่คอมไพลเลอร์จองไว้ โดยกำหนดด้วยชื่อ เราสามารถกำหนดค่าให้แก่ตัวแปรด้วยการใช้เครื่องหมาย “=” ชื่อที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้ในการเก็บข้อมูลซึ่งการประกาศตัวแปรจะ เป็นไปตามกฏการใช้งานบทที่ 1
3
การแสดงผล Printf() เป็นฟังก์ชันมาตรฐาน ซึ่งใช้สำหรับแสดงผลลัพธ์แบบกำหนดรูปแบบชนิดข้อมูล ได้แก่ จอภาพ Scanf() เป็นฟังก์ชันมาตรฐาน ซึ่งใช้สำหรับข้อมูลแบบกำหนดรูปแบบชนิดข้อมูล โดยรับข้อมูลจากแป้นพิมพ์
4
ตารางแสดงสัญลักษณ์แสดงผล
ใช้สำหรับ %d %s %f %c %o %x แสดงค่าที่เป็นเลขจำนวนเต็ม แสดงค่าที่เป็นสตริง แสดงค่าที่เป็นเลขทศนิยม แสดงค่าที่เป็นตัวอักษร 1 ตัว แสดงค่าของตัวเลขในรูปฐานแปด แสดงค่าของตัวเลขในรูปฐานสิบหก
5
ชนิดของข้อมูล แบบ Void แบบตัวอักษร แบบเลขจำนวนเต็ม แบบเลขทศนิยม
6
ชนิดข้อมูลแบบ Void (0 byte)
เป็นชนิดข้อมูลที่ไม่มีค่า ไม่ใช้กำหนดค่าให้ตัวแปร ใช้กำหนดไว้ที่ฟังชั่น ในกรณีที่ไม่มีการรับหรือส่งค่า
7
ชนิดข้อมูลแบบตัวอักษร(Character)
เป็นตัวแปรที่เก็บได้ 1 ตัวอักษร เป็นตัวอักษรตัวเดียว ภายในเครื่องหมาย ‘ ’ โดยไม่ได้เก็บตัวอักษรไว้ สิ่งที่เก็บคือรหัสแอสกีที่ตรงกับค่าของตัวอักษร เช่น เช่น ‘A’ 1
8
การกระทำทางคณิตศาสตร์ของตัวอักษร
ตัวอักษรสามารถนำมาบวก และ ลบ ด้วยตัวเลขได้ ดังนี้ #include <stdio.h> Main(){ char A=‘a’; printf(“Variable A is %c\n”,A); A = A + 10; Printf(“After plus variable A with 10, variable A is now %c\n”,A); } Variable A is a After plus variable A with 10, variable A is now k
9
การเก็บข้อมูลมากกว่า 1 ตัวอักษร
เรียกว่า String โดยนำชนิดข้อมูลแบบตัวอักษรมากำหนดให้อยู่ในรูปของ Array เป็นแถวลำดับของตัวอักษรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป ภายในเครื่องหมาย “ ” สำหรับ String ภาษา C จะเติมอักษร Null เป็นตัวอักษรสุดท้ายของแถวลำดับ เพื่อบอกจุดสิ้นสุดของ String รูปแบบ char ชื่อตัวแปร[ขนาดข้อมูล]; char data[9] = “computer”;
10
ชนิดข้อมูลแบบเลขจำนวนเต็ม (Integer)
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ int หรือ short เก็บเลขจำนวนเต็มตั้งแต่ -32,768 ถึง 32,767 Long เก็บเลขจำนวนเต็มตั้งแต่ -2,147,483,648 ถึง 2,147,483,647 วิธีการใช้คือถ้าต้องการตัวเลขจำนวนเต็มมากกว่า 32,767 เราจะต้องประกาศตัวแปรแบบ long ถ้าน้อยกว่าก็ประกาศแบบ int ดังตัวอย่าง
11
int a,b,c; int age; int height; long salary,money; เราประกาศตัวแปร a,b,c age height แบบ int เนื่องจาก ต้องการให้เก็บค่าที่อยู่ระหว่าง -32,768 ถึง 32,767 เท่านั้น แต่ salary และ money มีโอกาสจะมีค่ามากกว่า นั้นดังนั้นจึงต้องประกาศเป็น long
12
ชนิดข้อมูลแบบเลขทศนิยม (floating-point)
แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ Float เก็บทศนิยมได้ 3.4E+/-38 (ทศนิยม 6 ตำแหน่ง) Double เก็บทศนิยมได้ 1.7E+/-308 (ทศนิยม 12 ตำแหน่ง) Long Double เก็บทศนิยมได้ 1.2E+/-4932 (ทศนิยม 24 ตำแหน่ง) float grade; double rate; long double longrate;
13
กฎการตั้งชื่อตัวแปร ต้องไม่มีอักษรพิเศษใดๆ ประกอบอยู่ด้วย เช่น # $ % ^ & * ( สามารถใช้เครื่องหมาย underscore ( _ ) ได้ ชื่อตัวแปรมีตัวเลขปนอยู่ได้ แต่ต้องไม่ขึ้นต้นด้วยตัวเลข ห้ามมีช่องว่างระหว่างชื่อ ใช้ได้ทั้งพิมพ์เล็ก และพิมพ์ใหญ่ ชื่อเหมือนกันแต่เป็นพิมพ์เล็กพิมพ์ใหญ่ ถือว่าคนละชื่อกัน ห้ามตั้งชื่อซ้ำกับคำสงวน เช่น char long while do
14
#include<stdio.h> void main() {
int age; char sex; float grade; age = 20; sex = ‘f’; grade = 3.14; } #include<stdio.h> void main() { int age = 20; char sex = ‘f’; float grade = 3.14; }
15
#include<stdio.h> void main() {
int age = 20; char sex = ‘f’; float grade = 3.14; char name[10] = “malee”; printf(“You are %s\n”,name); printf(“You are %c\n”,sex); printf(“You are %d years old\n”,age); printf(“You grade is %f\n”,grade); } You are malee You are f You are 20 years old Your grade is
16
ประเภทตัวแปร Global variable Local variable
เป็นตัวแปรที่เมื่อประกาศแล้วจะสามารถใช้ตัวแปร นั้นได้ตลอดทั้งโปรแกรม โดยไม่ต้องประกาศซ้ำ แม้จะอยู่ในฟังก์ชันย่อย Local variable เป็นตัวแปรที่ใช้เฉพาะส่วนของโปรแกรม
17
ค่าคงที่ในภาษาซี ค่าคงที่จะต่างจากตัวแปรที่ค่าคงที่จะเก็บค่าเอาไว้เพียงค่าเดียวตลอดทั้งโปรแกรม โดยที่เราสร้างค่าคงที่แล้วจะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงค่าของมันได้ การตั้งชื่อค่าคงที่จะใช้กฎเดียวกันกับการตั้งชื่อตัวแปร แต่นิยมตั้งชื่อค่าคงที่ให้เป็นตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ทั้งหมด เพื่อให้เกิดความแตกต่างระหว่างชื่อตัวแปรกับชื่อค่าคงที่ ค่าคงที่ในภาษาซีมี 2 คำสั่งคือ คำสั่ง const และ #define
18
การใช้คำสั่ง const สร้างค่าคงที่
ตัวอย่างโปรแกรม const1.c #include<stdio.h> void main() { const double pi=3.14; const float K=4; const char ch= ‘A’; const char company[10]=“INTER”; printf(“pi = %d\n”,pi); printf(“K = %f\n”,K); printf(“ch = %d\n”,ch); printf(“company name = %s”,company); }
19
การใช้คำสั่ง #define สร้างค่าคงที่
ตัวอย่างโปรแกรม define1.c #include<stdio.h> #define PI 3.14 #define NAME “SASALAK” #define CH ‘a’ void main() { printf(“PI = %f\n”,PI); printf(“NAME = %s\n”,NAME); printf(“PI = %c\n”,CH); }
20
การใช้คำสั่ง #define สร้างค่าคงที่
ตัวอย่างโปรแกรม define2.c #include<stdio.h> #define PI 3.14 #define AREA(x) PI*x*x void main() { int r; printf(“R = ?”); scanf(“%d”, &r); printf(“Area = %f”,AREA(r) ); }
21
การใช้คำสั่ง #Scanf()
ตัวอย่างโปรแกรม Scanf.c #include<stdio.h> main() { int day, month, year; printf(“Enter date dd/mm/yy”); scanf(“%d / %d / %d”, &day, &month, &year); printf(“It is %2d / %2d / %2d today”, day, month, year ); }
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.