ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
T-Test compare with mean Independent Paired
[91 slides] [30 slides] [105 slides] [56 slides] April 28, 2014
2
T-Test เหมาะกับข้อมูลแบบใด
เป็นสถิติที่ใช้ทดสอบต่อไปนี้ - กรณีกลุ่มตัวอย่างหนึ่งกลุ่ม ใช้ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ระหว่าง กลุ่มตัวอย่าง กับ ประชากร - กรณีกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่ม - ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่เป็นอิสระจากกัน - ทดสอบความแตกต่างของสัดส่วนระหว่างกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่สัมพันธ์กัน เช่น ผลสอบ pre-test และ post-test
3
ถ้าทดสอบเรื่องเพศ ก็มักจะใช้ T-Test แต่แบบสอบถามบางฉบับ อาจไม่ได้มี 2 เพศ ถ้ามีมากกว่า 2 เพศ ก็เห็นใช้ One-way ANOVA ทดสอบสมมติฐานกัน แบบสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ต สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สพธอ. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีตัวอย่างคำถามที่น่าสนใจ
4
One-Sample T Test : Concept
น้ำหนักของเด็กหนึ่งขวบ ใน 2 หมู่บ้าน หมู่บ้านใด เป็นตามมาตรฐาน 12 กิโลกรัม สมมติฐาน H0 : u=12 (ค่าเฉลี่ยน้ำหนักเด็กเท่ากับ 12) : >=0.05 H1 : u!=12 (ค่าเฉลี่ยน้ำหนักไม่เท่ากับ 12) : <0.05
5
One-Sample T Test : Sample Data Test value=12 for 2 variables
6
ค่าสถิตินี้ใช้ตอบได้ว่า หมู่บ้านใดที่มีค่าเฉลี่ย = 12
One-Sample T-Test : Output สรุปว่ามีหมู่บ้านเดียวที่ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 12 ค่าสถิตินี้ใช้ตอบได้ว่า หมู่บ้านใดที่มีค่าเฉลี่ย = 12
7
Independent-Sample T Test : Concept
เด็กชายกับเด็กหญิง มีน้ำหนักเท่ากัน สมมติฐาน H0 : m = f (ชายกับหญิงน้ำหนักเท่ากัน) : >=0.05 H1 : m != f (ชายกับหญิงน้ำหนักไม่เท่ากัน) :<0.05 สมมติฐานดูค่า F-Test ว่าแปรปรวนหรือไม่ H0 : u1 = u2 (แปรปรวนเท่ากัน) : >=0.05 H1 : u1 != u2 (แปรปรวนไม่เท่ากับ) :<0.05
8
Independent-Sample T Test : Data select first village compare with sex
มีข้อมูล 2 กลุ่ม ทั้ง 2 กลุ่มอิสระจากกัน
9
Independent-Sample T Test : Output
หมู่บ้าน 1 จาก sig พบว่าปฏิเสธ H0 คือ ความแปรปรวนไม่เท่ากัน หรือต่างกัน ดู sig ของ Equal variances Assumed พบว่ายอมรับ H0 คือ เด็กชายกับเด็กหญิงน้ำหนักเท่ากัน แต่หมู่บ้านที่ 2 น้ำหนักไม่เท่ากัน
10
Paired-Samples T Test : Concept
คะแนนสอบก่อนเรียน และหลังเรียนไม่แตกต่างกัน สมมติฐาน H0 : U1 = U2 (คะแนนก่อนไม่ต่างหลังเรียน): >=0.05 H1 : U1 != U2 (คะแนนก่อนต่างหลังเรียน) :<0.05
11
Paired-Samples T Test : Data
ค่าสถิตินี้นิยมใช้ สำหรับการวิจัยในชั้นเรียน ว่าก่อนสอน และหลังสอน ผลการใช้เครื่องมือเป็นอย่างไร ทางวิทยาศาสตร์ก็ใช้นะครับ
12
Paired-Samples T Test : Output
เปรียบเทียบคะแนนสอบ พบว่าปฏิเสธ H0 คือ ก่อนและหลังสอนคะแนนเฉลี่ยไม่เท่ากัน เปรียบเทียบความพึงพอใจ พบว่ายอมรับ H0 คือ ก่อนและหนังสอนความพึงพอใจเท่ากัน
13
ต.ย.การใช้ T-TEST ของ ศศิธรเข็มคำ p.32
สมมติฐานการวิจัย เพศที่ต่างกัน ส่งผลให้การตัดสินใจเลือกใช้บริการสถานตรวจสภาพรถเอกชน ของผู้ใช้รถยนต์ส่วนบุคคล ในอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง ตามปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดแตกต่างกัน สมมติฐานทางสถิติ H0: เพศที่ต่างกันส่งผลให้การตัดสินใจเลือกใช้บริการสถานตรวจสภาพรถเอกชนของผู้ใช้รถยนต์ส่วนบุคคล ในอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง ตามปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดไม่แตกต่างกัน H1:เพศที่ต่างกันส่งผลให้การตัดสินใจเลือกใช้บริการสถานตรวจสภาพรถเอกชนของผู้ใช้รถยนต์ส่วนบุคคล ในอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง ตามปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดไม่แตกต่างกัน ใช้ T-TEST ทดสอบความแปรปรวน 2 กลุ่มข้อมูล ถ้า T-Test >= 0.05 หมายถึงแปรปรวนปกติ แสดงว่าไม่ต่างกัน ถ้า T-Test < 0.05 หมายถึงแปรปรวนปกติ แสดงว่าต่างกัน ถ้าพบว่า ต่างกัน ก็ต้องทดสอบค่าเฉลี่ยรายคู่ ว่าคู่ใดแตกต่างกัน
14
ต.ย.การใช้ T-TEST ของ ศศิธรเข็มคำ
ผลคือเพศชายกับหญิง พิจารณาเลือกใช้บริการ สถานตรวจสภาพรถ ตามการจัดจำหน่าย และลักษณะกายภาพ แตกต่างกัน ส่วนสมมติฐานอีก 5 ข้อ ไม่แตกต่างกัน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.