ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงคุณภาพ
ทพญ.อัจฉรา วัฒนาภา
2
การวิจัยเชิงคุณภาพ มิได้มีความหมายเดียว (Not a single one)
การวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นวิธีวิทยาในตัวเอง ถูกใช้ในหลายสาขาวิชา และหลายกลุ่มปัญหา ปรัชญาการวิจัย (paradigm) แนวทางการวิจัย (approach) ข้อมูล (data)
3
ศึกษาในสภาพธรรมชาติ (Natural Setting)
ความจริง มีสภาวะเป็นองค์รวม ไม่สามารถเข้าใจได้โดยปราศจากการคำนึงถึงบริบท ทั้งไม่สามารถแบ่งแยกออกมาศึกษาเป็นส่วนๆ นัยหนึ่งก็คือ ความจริงในภาพรวม ไม่เท่ากับการนำความจริงส่วนย่อยๆ มารวมกัน
4
ความจริงจากความหมายของคนใน EMIC (คนนอก ETIC)
5
ศึกษาความจริง ในฐานะความจริงที่ถูกสร้าง
ศึกษา “ความจริง” ที่คนแต่ละกลุ่ม สร้างขึ้น หรือเชื่อว่าจริง (constructed reality)
6
เข้าใจ มิใช่วัดและตัดสิน (Understanding not measuring)
การวิจัยเชิงคุณภาพ เน้นการทำความเข้าใจปรากฏการณ์อย่างลึกซึ้ง รอบด้าน ตามความหมายของคนใน ด้วยถือว่า ความหมายของความจริง ไม่มีหนึ่งเดียว (single/ universal) (ตามทีผู้วิจัยเชื่อ หรือ เรียนรู้มา) แต่มีหลากหลาย (multiple /local/ context specific) การวิจัยเชิงคุณภาพ จึงมิใช่การวัด ชี้ถูก ชี้ผิด หรือตัดสิน ปรากฏการณ์
7
รูปแบบการวิจัย ที่เกิดขึ้น และปรับเปลี่ยนได้ตลอดขณะของการทำงานสนาม (Emerging design)
8
องค์รวมและบริบท holistic & contextualizing
9
เน้นการทำความเข้าใจเฉพาะกรณี (Ideographic interpretation)
10
ใช้การเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling)
11
เป็นกระบวนการที่ต่อเนื่อง (On-going process)
การวิจัย เชิงคุณภาพ เป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องกัน จากต้นจนจบ การตั้งคำถามการวิจัย การตัดสินใจเลือกตัวอย่าง (ใหม่) การประมวลและประเมินข้อมูล การสรุปและตีความข้อมูล เป็นกระบวนการที่เกิดต่อเนื่อง ตั้งแต่ คำถามแรก และต่อเนื่องไป จนถึงสิ้นสุดการเขียนรายงาน และต่อเนื่องไปยังการวิจัย ครั้งต่อไป
12
ใช้เวลาในสนาม Prolonged engagement
13
เครื่องมือสำคัญคือ ตัวนักวิจัย
14
นักวิจัยต้องเปิดเผยตัวตน
Qualitative design incorporates room for description of the role of the researcher as well as description of the researcher’s own biases and ideological preferences.
15
คำนึงถึงจริยธรรม คุณค่าความเป็นมนุษย์
Qualitative design incorporates informed consent decisions and is responsive to ethical concerns.
16
ประเด็นถกเถียงสำคัญ
17
ความเชื่อถือได้ ไม่ใช่เรื่องความแม่นตรงหรือถูกผิดแต่เป็นสิ่งที่น่าเชื่อถือได้หรือไม่ Not reliable/valid but trustworthiness การตรวจสอบสามเส้า (Triangulation)
18
ความเป็นตัวแทน (representativeness)
ไม่มีสิ่งที่เรียกว่าตัวแทน เนื่องจากความจริงมีหลากหลาย และ กำหนดโดยบริบท แต่ความจริงหนึ่งสามารถเรียนรู้เพื่อประยุกต์เทียบเคียง ในบริบทที่คล้ายคลึง
19
การนำไปใช้ที่อื่น (Generalizability)
ปฎิเสธความเชื่อเรื่องความจริงพ้นบริบท แต่เชื่อว่า transferable
20
ไม่เชื่อเรื่อง สภาวะปราศจากอคติว่าเกิดขึ้นจริง
อคติ (Bias) ไม่เชื่อเรื่อง สภาวะปราศจากอคติว่าเกิดขึ้นจริง งานวิจัยทุกชนิดล้วนมีอคติหรือฐานคติรองรับ ทางออกคือระวัดระวังและเปิดเผยอคตินั้น
21
ทฤษฎีในการวิจัยเชิงคุณภาพ
ทฤษฎีกำหนดกระบวนการทั้งหมด (คำถาม ออกแบบ เก็บข้อมูล ตีความ รายงาน) แต่ทฤษฎีควรมีในฐานะเครื่องมือนำ มิใช่ความจริงที่จะนำไปพิสูจน์
22
อิทธิพลของวิธีคิดในการวิจัย
23
เวลาและจำนวนตัวอย่าง
ขึ้นกับคำถามการวิจัยและความซับซ้อนของปรากฏการณ์ (เทียบกับทักษะและประสบการณ์ผู้วิจัย) หลัก คือ กลับไปหาปรัชญาพื้นฐาน (ธรรมชาติ ความจริง) แล้วประยุกต์กับ ความเป็นจริง (practicality) สำคัญที่สุด คือ การตระหนักรู้ในธรรมชาติและข้อจำกัด/ข้อเด่น ในญานวิทยา/วิธีวิทยาที่ใช้
24
Major/selected reference
Denzin & Lincoln Handbook on Qualitative Research รศ. ดร. ลือชัย ศรีเงินยวง (2551) powerpointประกอบการสอนการวิจัยเชิงคุณภาพ. มหาวิทยาลัยมหิดล.
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.