ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยChanachai Pramoj ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
โรคท้องขึ้น (Bloat) เป็นโรคที่พบบ่อยในสัตว์เคี้ยวเอื้อง ซึ่งมี 4 กระเพาะเนื่องจาก กระเพาะที่ 1 (รูเม็น) มีการ สร้างแก๊ส ทำให้เกิดท้องขึ้น โดยกระทันหันและผลิตสาร พวกฮีสตามีนจำนวนมาก ขนาดของช่องท้องที่ขยายขึ้น + histamine จะไปกดช่องอก ทำให้สัตว์ตายได้ โรคท้องขึ้น
2
สาเหตุ 1. อาหารอุดตันในกระเพาะเนื่องจากกระเพาะไม่ย่อยอาหาร
1. อาหารอุดตันในกระเพาะเนื่องจากกระเพาะไม่ย่อยอาหาร 2. หญ้าที่กินเป็นหญ้าอ่อนมีน้ำปนมากหรือเป็นพวกพืชตระกูลถั่ว ซึ่งทำให้เกิด Fermentation มีแก๊สมาก และขณะเดียวกันก็มีความผิดปกติ ในการขย้อนอาหารมาเพื่อเคี้ยวเอื้อง เนื่องจากเป็นแก๊ส ลักษณะที่เรียกว่า stable foam 3.กินหญ้าที่เป็นพิษ เช่น Sorgham โรคท้องขึ้น
3
อาการ ท้องด้านซ้ายใหญ่ขึ้น เมื่อเคาะจะรู้สึกโปร่งเนื่องจากมีแก๊สอยู่ภายใน สัตว์หยุดเคี้ยวเอื้อง น้ำลายไหล อ้าปาก ยืนไม่ถนัด ยืนขาถ่าง ล้มลงนอนตะแคง ชัก ตาย สัตว์ที่เกิดท้องขึ้นอย่างรุนแรง (lateral recumbency) สัตว์อยู่ในท่าพักตามปกติ (sternal recumbency) โรคท้องขึ้น
4
การรักษา 1. หาวิธีลดความดันในช่องท้อง****
ล้วงอุจจาระออกจากทวารหนัก กรอกน้ำมัน ประมาณ ½ ลิตร หรือให้พวกยาขับลมแก๊ส (ขิง, ฯลฯ) พาสัตว์เดิน วิ่ง ฉีดยา เพิ่มการบีบตัวของรูเมน เช่น CarbacholR ถ้าเป็นมากจะต้องเจาะช่องท้อง 2. ฉีดยาแอนตี้ฮีสตามีน หรือยาบำรุงหัวใจ เช่น อะดรีนาลีน เข้ากล้ามเนื้อ โรคท้องขึ้น
5
การเจาะช่องท้อง ในสัตว์นอนตะแคง ด้านซ้ายขึ้น ใช้เครื่องมือเรียก Trocar/หลาว/มีด ที่ฆ่าเชื้อ เจาะที่นูนที่สุด พร้อมทั้งให้ยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกันการติดเชื้อในช่องท้อง ที่มาภาพ โรคท้องขึ้น
6
โรคไข้นม (Milk fever) ชื่อพ้อง: parturient paresis, hypocalcemia, eclampsia เป็น metabolic disease ที่พบบ่อยในโค มักเกิดร่วมกับการคลอด โดยเฉพาะ หลังคลอดเล็กน้อย ปัจจัยเสี่ยง โคนมมากกว่าโคเนื้อ โคที่อายุมาก โคที่ให้น้ำนมมาก โรคไข้นม
7
สาเหตุ ในขณะที่โคให้นมจะมีการสูญเสียน้ำนมมาก ทำให้มีการเสีย แร่ธาตุออกไปกับน้ำนม hypocalcemia อาหารมีแคลเซี่ยมน้อย ท้องเสีย การดูดซึมแคลเซี่ยมไม่ดี มักเกิดร่วมกับภาวะ P และ Mg ในเลือดต่ำ โรคไข้นม
8
อาการ เบื่ออาหาร ในขณะที่อุณหภูมิร่างกายค่อนข้างปกติ หรือลดลงเล็กน้อย กระเพาะรูเม็นหยุดทำงาน ขาแข็ง กล้ามเนื้อสั่น ทำงานไม่สัมพันธ์กัน ล้มนอน (lateral recumbency) ชัก หัวบิดมาทาง หัวไหล่เป็นรูปตัว S หัวใจเต้นเร็ว ม่านตาขยาย ท้องอืด ตาย ระยะเวลาที่แสดงอาการ ~ ชั่วโมง ระดับ Ca ในเลือดวัดได้ 3.76 mg% โรคไข้นม
9
การวินิจฉัย อาการควบคู่กับปัจจัยเสี่ยงที่กล่าวมาแล้ว
เจาะเลือดตรวจระดับ Ca ระดับปกติของแคลเซี่ยมในเลือด mg/ 100 cc. โคที่เสดงอาการโรคไข้นมจะมี ระดับแคลเซี่ยมลดลงมากกว่า ครึ่งหนึ่งของระดับปกติ โรคไข้นม
10
การรักษา ฉีด Ca เข้าเส้นเลือดดำอย่างช้าๆ ประมาณ 8-12 gm
หรือ ฉีด Ca ซึ่งอยู่ในรูป calcium borogluconate เป็นส่วนใหญ่ Calcium borogluconate เข้มข้น 30% ปริมาณ 400 ml มักจะพอเพียงสำหรับโคโดยทั่วไป ให้แบบ slow IV หากยาเย็นให้อุ่นยาก่อน หากโคไม่พลิกตัวให้พลิกโคบ้าง (ทุก 2 ชม.) ให้โคอยู่ในท่านอนคว่ำดีกว่านอนตะแคง โรคไข้นม
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.