ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยDarin Phornprapha ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การตัดสินใจเบื้องต้น : สถิติเบื้องต้น (Introduction to statistics)
รวบรวมโดย ไพรศิลป์ ปินทะนา
2
สถิติ Statistics & Statistic
ศิริชัย กาญจนวาสี, 2537 ข้อมูลสถิติ (Statistics Data) สถิติศาสตร์ (Statistics) ค่าสถิติ (Statistic) วิชาสถิติ (Statistics) คณิตศาสตร์กับการตัดสินใจ ไพรศิลป์ ปินทะนา
3
ประเภทของสถิติ ประชากร สถิติภาคบรรยาย (Descriptive Statistics)
เป็นสถิติที่ศึกษาเฉพาะข้อมูลกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เมื่อศึกษาลักษณะข้อมูลได้อย่างไร ก็บรรยายลักษณะข้อมูลของกลุ่มที่ศึกษาเท่านั้น สถิติภาคอ้างอิง (Inferential Statistics) เป็นสถิติที่ศึกษาเฉพาะข้อมูลเพียงบางส่วน ซึ่งเป็นตัวแทนของกลุ่มใหญ่ โดยนำผลการวิเคราะห์ที่ได้จากกลุ่มย่อยสรุปอ้างอิงถึงกลุ่มใหญ่ทั้งหมด อ้างอิง ประชากร กลุ่มตัวอย่าง คณิตศาสตร์กับการตัดสินใจ ไพรศิลป์ ปินทะนา
4
ระเบียบวิธีทางสถิติ (Statistical Method)
การเก็บรวบรวมข้อมูล (Collection of data) การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis of data) การนำเสนอข้อมูล (Presentation of data) การสรุปและแปลความหมายข้อมูล (Conclusion and Interpretation of data)
5
ข้อมูลสถิติ (Statistics Data)
กับการเก็บรวบรวมข้อมูล (Collection of data) แบบวัดต่าง ๆ รายงานต่าง ๆ ปฐมภูมิ Primary Data ทุติยภูมิ Secondary Data ที่มา เก็บรวบรวมได้ง่ายเนื่องจาก ต้องวัดให้ได้ว่ามีคุณลักษณะอย่างไร วัดปริมาณเป็นตัวเลขได้ ข้อมูลเชิงปริมาณ Quantitative Data ข้อมูลเชิงคุณลักษณะ Qualitative Data ลักษณะ คณิตศาสตร์กับการตัดสินใจ ไพรศิลป์ ปินทะนา
6
การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis)
การแจกแจงความถี่ (Frequency) การหาเปอร์เซ็นต์หรือร้อยละ การหาสัดส่วน (Proportion) การหาอัตราส่วน (Ratio) การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง การหาลักษณะการกระจาย ของข้อมูล การประมาณค่า (Estimation) การทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis Test) การหาสหสัมพันธ์ (Correlation) การพยากรณ์ (Forecasting) คณิตศาสตร์กับการตัดสินใจ ไพรศิลป์ ปินทะนา
7
การนำเสนอข้อมูล (Presentation of data)
ตารางแจกแจงความถี่ (Frequency Distribution Table) การแจกแจงความถี่ด้วยกราฟ ฮิสโทแกรม (Histogram) รูปหลายเหลี่ยมของความถี่ ((Frequency Polygon) เส้นโค้งของความถี่ (Frequency Curve) แผนภาพลำต้นและใบ (Stem and Leaf) คณิตศาสตร์กับการตัดสินใจ ไพรศิลป์ ปินทะนา
8
การวัดตำแหน่ง (Measures of Rank)
เปอร์เซนไทล์ (Percentile) แบ่งจำนวนข้อมูลทั้งหมดเป็น 100 ส่วน เท่า ๆ กัน ใช้สัญญลักษณ์ P1, P2, P3,…,P99 เดไซล์ (Decile) แบ่งจำนวนข้อมูลทั้งหมดเป็น 10 ส่วนเท่า ๆ กัน ใช้สัญญลักษณ์ D1, D2, D3,…,D9 ควอไทล์ (Quartile) แบ่งจำนวนข้อมูลทั้งหมดเป็น 4 ส่วนเท่า ๆ กัน ใช้สัญญลักษณ์ Q1, Q2และ Q3 คณิตศาสตร์กับการตัดสินใจ ไพรศิลป์ ปินทะนา
9
การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง (Measures of Central Tendency)
ค่าเฉลี่ย (Average or Mean: Me) ค่ามัธยฐาน (Median: Md) ค่าฐานนิยม (Mode: Mo) ถ้ามี 2 ค่า เรียกว่า ทวิฐานนิยม (Bimodel) คณิตศาสตร์กับการตัดสินใจ ไพรศิลป์ ปินทะนา
10
แผนภาพความสัมพันธ์ระหว่างค่ากลาง 3 ประเภท
Me=Md=Mo ข้อมูลมีการแจกแจงสมมาตรค่ากลาง 3 ค่าจะมีค่าเท่ากัน Me<Md<Mo Mo<Md<Me ข้อมูลมีการแจกแจงเบ้ซ้าย (เบ้ทางลบ) ข้อมูลมีการแจกแจงเบ้ขวา (เบ้ทางบวก) คณิตศาสตร์กับการตัดสินใจ ไพรศิลป์ ปินทะนา
11
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
พิสัย (Range: Rg) พิสัยควอไทล์ (Inter Quartiles Range: IQR) ความแปรปรวน (Variance) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation: SD) สัมประสิทธิ์ความแปรผัน (Coefficient of Variation: CV) คณิตศาสตร์กับการตัดสินใจ ไพรศิลป์ ปินทะนา
12
การวัด (Measures) Me Md Mo PR DR QR
การวัดตำแหน่ง (Measures of Rank) การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง (Measures of Central Tendency) การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion) PR DR QR Me Md Mo Rg IQR Variance SD CV คณิตศาสตร์กับการตัดสินใจ ไพรศิลป์ ปินทะนา
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.