งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

รองศาสตราจารย์ ดร. วิศิษฐิพร สุขสมบัติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "รองศาสตราจารย์ ดร. วิศิษฐิพร สุขสมบัติ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 รองศาสตราจารย์ ดร. วิศิษฐิพร สุขสมบัติ
คุณภาพน้ำนมดิบ รองศาสตราจารย์ ดร. วิศิษฐิพร สุขสมบัติ

2 มาตรฐานการรับซื้อน้ำนมดิบ ปี 2552 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
1. คุณภาพทั่วไป 1.1 เป็นนมดิบที่รีดได้จากแม่โคโดยตรง ไม่มีการสกัด หรือ ผสมสารอื่นใดในน้ำนมดิบ 1.2 น้ำนมดิบต้องมีสี กลิ่น รส ตามธรรมชาติ 1.3 ไม่พบสารปฏิชีวนะ 1.4 ไม่พบสารตกค้างที่เป็นพิษ เกินกว่าที่ มกอช. กำหนด 1.5 ไม่พบสารปนเปื้อนอื่นๆ เช่น ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ คลอรีน หรืออื่นๆ

3 มาตรฐานการรับซื้อน้ำนมดิบ ปี 2552 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
2. องค์ประกอบของน้ำนม 2.1 กำหนดราคาตามองค์ประกอบของของแข็งรวม (Total Solids : TS) < 12.00% ราคาลดลง 0.10 บาท/กก. 12.00 – 12.59% ราคา ไม่ลด/ไม่เพิ่ม  ราคาเพิ่มขึ้น 0.10 บาท/กก.

4 มาตรฐานการรับซื้อน้ำนมดิบ ปี 2552 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
3. คุณสมบัติทางด้านจุลินทรีย์ 3.2 จำนวนเม็ดเลือดขาว (Somatic Cell Count; SCC) < 150,000 โคโลนี ต่อ ลบ.ซม เพิ่มขึ้น 0.20 บาท/กก. 150,000 – 300,000 โคโลนี ต่อ ลบ.ซม. เพิ่มขึ้น 0.10 บาท/กก. 300,001 – 500,000 โคโลนี ต่อ ลบ.ซม. เพิ่มขึ้น 0.00 บาท/กก. 500,001 – 700,000 โคโลนี ต่อ ลบ.ซม. ลดลง บาท/กก. > 700,000 โคโลนี ต่อ ลบ.ซม ลดลง บาท/กก.

5 มาตรฐานการรับซื้อน้ำนมดิบ ปี 2552 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
4. จุดเยือกแข็ง (Freezing Point) ค่าจุดเยือกแข็ง โดยวิธี Cryoscopic  °C ถึง – °C ลดลง 0.10 บาท/กก. ถึง – °C ลดลง 0.20 บาท/กก. < °C ลดลง 1.00 บาท/กก. หรือ ส่งคืนสหกรณ์ฯ

6 รองศาสตราจารย์ ดร. วิศิษฐิพร สุขสมบัติ
อาหารกับคุณภาพน้ำนม รองศาสตราจารย์ ดร. วิศิษฐิพร สุขสมบัติ

7 องค์ประกอบทางเคมีของน้ำนม
น้ำ ประมาณ % 100 – น้ำ = ของแข็งรวมในน้ำนม = – 13.00% ของแข็งรวมในน้ำนม – ไขมัน = ของแข็งพร่องไขมัน (SNF) = 8.25 ไขมัน = 3.50 – 5.00% โปรตีน = 3.00 – 3.50% น้ำตาลแลคโตส = 4.80 – 5.00%

8 องค์ประกอบทางเคมีของน้ำนม
น้ำตาลแลคโตส = 4.80 – 5.00% ค่อนข้างคงที่ อาหารจะไม่ค่อยมีผลต่อระดับน้ำตาลแลคโตสในน้ำนม ไขมัน = 3.50 – 5.00% ผันแปรตามพันธุกรรมและอาหาร โปรตีน = 3.00 – 3.50% ผันแปรตามพันธุกรรมและอาหาร อาหารจะมีผลต่อระดับไขมันและโปรตีนในน้ำนม

9 น้ำตาลแลคโตสในน้ำนมมาจากไหน
อาหารจำพวกแป้งและน้ำตาล หมักย่อยในกระเพาะหมัก สังเคราะห์เป็นน้ำตาลแลคโตส กรดโพรพิโอนิก

10 ไขมันในน้ำนมมาจากไหน หมักย่อยในกระเพาะหมัก
อาหารจำพวกเยื่อใย ไขมันในน้ำนม หมักย่อยในกระเพาะหมัก สังเคราะห์เป็นไขมัน กรดอะซีติก กรดบิวทีริก

11 โปรตีนในน้ำนมมาจากไหน
อาหารจำพวกโปรตีน และจุลินทรีย์ โปรตีนในน้ำนม หมักย่อยในกระเพาะหมัก สังเคราะห์เป็นโปรตีน กรดอะมิโน

12 องค์ประกอบทางเคมีของน้ำนม น้ำตาลแลคโตส = 4.80 – 5.00% ค่อนข้างคงที่
ปัญหาที่พบ น้ำตาลแลคโตส = 4.80 – 5.00% ค่อนข้างคงที่ ไขมัน ต่ำกว่า 3.50% โปรตีน ต่ำกว่า 3.00%

13 องค์ประกอบทางเคมีของน้ำนม ปัญหาที่พบ
ไขมัน ต่ำกว่า 3.50% เกิดจาก พันธุกรรม เพราะมีเลือดขาว-ดำสูงเกินไป เกิดจาก อาหาร เพราะมีสัดส่วนอาหารหยาบน้อยเกินไป

14 องค์ประกอบทางเคมีของน้ำนม ปัญหาที่พบ
ไขมัน ต่ำกว่า 3.50% เกิดจาก พันธุกรรม เพราะมีเลือดขาว-ดำสูงเกินไป วิธีแก้ไข ลดระดับสายเลือดขาวดำ โดยใช้น้ำเชื้อพันธุ์เจอร์ซี่

15 องค์ประกอบทางเคมีของน้ำนม ปัญหาที่พบ
ไขมัน ต่ำกว่า 3.50% เกิดจาก อาหาร เพราะมีสัดส่วนอาหารข้นมากเกินไป วิธีแก้ไข เพิ่มสัดส่วนอาหารหยาบ อาหารข้น : อาหารหยาบ = 60 : 40 อาหารข้น : อาหารหยาบ = 50 : 50

16 องค์ประกอบทางเคมีของน้ำนม ปัญหาที่พบ
โปรตีน ต่ำกว่า 3.จ0% เกิดจาก พันธุกรรม เพราะไม่ได้เลือกพ่อพันธุ์ที่ให้ลูกที่ให้โปรตีนในน้ำนมสูง วิธีแก้ไข ใช้พ่อพันธุ์ที่สามารถให้ลูกที่ให้โปรตีนในน้ำนมสูง

17 องค์ประกอบทางเคมีของน้ำนม ปัญหาที่พบ
โปรตีน ต่ำกว่า 3.00% เกิดจาก อาหาร เพราะอาหารมียูเรียสูง มีโปรตีนไหลผ่านต่ำ วิธีแก้ไข ใช้อาหารที่มียูเรียต่ำกว่า 2% และมีโปรตีนไหลผ่านมาก

18 เซลล์เม็ดเลือดขาว SCC
ปัจจุบันพบว่ามีแร่ธาตุและวิตามินบางชนิด (ซีลีเนียม ทองแดง สังกะสี วิตามิน อี) ช่วยทำให้เซลล์เต้านมแข็งแรงขึ้น สามารถลดการเกิดโรคเต้านมอักเสบ และส่งผลถึงการลดลงของเซลล์เม็ดเลือดขาว (SCC)


ดาวน์โหลด ppt รองศาสตราจารย์ ดร. วิศิษฐิพร สุขสมบัติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google