งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กฎอัยการศึก พันโท นิติน ออรุ่งโรจน์ โดย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กฎอัยการศึก พันโท นิติน ออรุ่งโรจน์ โดย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กฎอัยการศึก พันโท นิติน ออรุ่งโรจน์ nitinor@yahoo.com โดย
พันโท นิติน ออรุ่งโรจน์ นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง นิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขากฎหมายมหาชน มหาวิทยาลัยรามคำแหง ประกาศนียบัตรกฎหมายระหว่างประเทศ ของสถาบันกฎหมายระหว่างประเทศกรุงเฮก เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

2 กรณีศึกษาเหตุการณ์ตากใบ
justice must be seen to be done

3 ภาพรวมกฎอัยการศึก ครม. ผบ.ทหาร พระมหากษัตริย์
จลาจล ประกาศพระบรมราชโองการ ให้ใช้กฎอัยการศึก เหตุจำเป็นเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อย ผบ.ทหาร ประกาศใช้กฎอัยการศึก สงคราม ข้อความในกฎหมายใดที่ขัดกับความของกฎอัยการศึก พ.ศ.2457 ข้อความนั้นต้องระงับและใช้บทบัญญัติของกฎอัยการศึก ผบ.ไม่น้อยกว่า 1 กองพัน ผบ.ในป้อมหรือที่มั่นของทหาร ห้าม ขับไล่ ค้น ยึด เกณฑ์ กัก ทำลาย เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารมีอำนาจเหนือประชาชน/เจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือน

4 ความหมาย กฎหมายที่กำหนดความสัมพันธ์ระหว่าง
รัฐหรือเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหาร ต่อ เอกชนหรือเจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือน โดย - เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารมีอำนาจเหนือเจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือน - รัฐมีอำนาจเหนือกระทำการที่กระทบต่อสิทธิและเสรีภาพของประชาชน ในกรณีมีเหตุจำเป็นเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อย เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

5 ข้อแตกต่างระหว่าง กฎอัยการศึกกับกฎหมายเอกชน(1)
ข้อแตกต่างระหว่าง กฎอัยการศึกกับกฎหมายเอกชน(1) ลำดับ เกณฑ์นิติสัมพันธ์ กฎหมายเอกชน กฎอัยการศึก 1 ผู้ก่อนิติสัมพันธ์ เอกชน กับ เอกชน มีนิติสัมพันธ์กัน รัฐหรือหน่วยงานของรัฐ กับ เอกชนหรือหน่วยงานของรัฐ มีนิติสัมพันธ์กัน 2 วัตถุประสงค์ของนิติสัมพันธ์ ประโยชน์ส่วนบุคคล ประโยชน์สาธารณะ(PUBLIC INTERREST) เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

6 ข้อแตกต่างระหว่าง กฎอัยการศึกกับ กฎหมายเอกชน(2)
ข้อแตกต่างระหว่าง กฎอัยการศึกกับ กฎหมายเอกชน(2) ลำดับ เกณฑ์นิติสัมพันธ์ กฎหมายเอกชน กฎอัยการศึก 3 วิธีการที่ใช้ในการก่อนิติสัมพันธ์ เอกชนเสมอภาคกัน จึงก่อนิติสัมพันธ์กันขึ้นโดยความสมัครใจ รัฐ(ทหาร)มีอำนาจเหนือ(อำนาจทางปกครอง) จึงใช้วิธีการฝ่ายเดียวในการก่อนิติสัมพันธ์ เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

7 ข้อแตกต่างระหว่าง กฎอัยการศึก กับ กฎหมายเอกชน(3)
ข้อแตกต่างระหว่าง กฎอัยการศึก กับ กฎหมายเอกชน(3) ลำดับ เกณฑ์นิติสัมพันธ์ กฎหมายเอกชน กฎอัยการศึก 4 สภาพบังคับ -เอกชนอาจทำนิติกรรมสัญญาแตกต่างจากที่กฎหมายเอกชนบัญญัติก็ได้ เว้นแต่ขัดต่อความสงบหรือศีลธรรม -เมื่อฝ่าฝืนกฎหมายหรือสัญญา เอกชนต้องไปฟ้องศาล -จะต้องปฏิบัติตามกฎหมายทหาร -เมื่อฝ่าฝืนคำสั่ง รัฐบังคับเอง เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

8 1.ให้อำนาจแก่เจ้าหน้าที่ในสถานการณ์คล้ายกัน
ศึกษาเปรียบเทียบระหว่าง กฎอัยการศึก พ.ศ กับ พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548(พรก.ฉุกเฉิน) เหมือนกัน : 1.ให้อำนาจแก่เจ้าหน้าที่ในสถานการณ์คล้ายกัน 2.เจ้าหน้าที่จะใช้อำนาจได้ก็ต่อเมื่อมีการประกาศ เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

9 ข้อแตกต่าง ลำดับ เกณฑ์ พรก.ฉุกเฉิน กฎอัยการศึก 1 ผู้ประกาศ คณะรัฐมนตรี
หรือนายกรัฐมนตรี พระมหากษัตริย์ หรือ ทหาร 2 ผู้ใช้อำนาจ ฝ่ายพลเรือน ฝ่ายทหาร 3 วิธีปฏิบัติในการใช้อำนาจ การใช้อำนาจที่สำคัญต้องขอต่อศาล ฝ่ายทหารใช้อำนาจเต็ม ไม่ต้องขอต่อศาล 4 การควบคุมโดยศาล ไม่อยู่ภายใต้อำนาจของศาลปกครอง บางกรณีตกอยู่ภายใต้อำนาจศาลปกครอง 5 การควบคุมทางการเมือง ควบคุมภายในฝ่ายบริหาร โดยมีการกำหนดเวลา ควบคุมภายในฝ่ายบริหาร โดยมีหลักว่าเมื่อหมดความจำเป็นแล้วต้องรีบยกเลิก เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

10 หลักความชอบด้วยกฎหมาย
เว้นแต่ ในกรณีสถานการณ์ฉุกเฉิน หรือในยามสงคราม : ความจำเป็นคือกฎหมาย หากมีการโจมตีประเทศใดประเทศหนึ่งด้วยอาวุธ ประเทศนั้นย่อมมีสิทธิ/อำนาจที่จะกระทำการใดเพื่อป้องกันสิทธิของประเทศตนเองได้ (กฎบัตรสหประชาชาติ ข้อ 51) เจ้าหน้าที่จะกระทำการใดที่มีผลกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพของประชาชนได้ก็ต่อเมื่อมีกฎหมายให้อำนาจ และจะต้องกระทำภายในขอบเขตที่กฎหมายกำหนดไว้เท่านั้น หลักการป้อง กันตัวของรัฐ บุคคลที่มีสถานะเหมือนกันย่อมได้รับการปฏิบัติที่เหมือนกัน ถ้าบุคคลมีสถานะแตกต่างกัน ย่อมต้องได้รับการปฏิบัติที่แตกต่างกันด้วย หลักกฎหมายพื้นฐานของกฎอัยการศึก หลักความเสมอภาค หลักความชอบด้วยกฎหมาย หลักพอสมควรแก่เหตุ กฎการใช้กำลัง (ROE) ไม่มีความเสมอภาคในสิ่งที่ผิดกฎหมาย หลักความเหมาะสม : รัฐมีอำนาจออกมาตรการเป็นที่ยอมรับหรือแสดงให้เห็นอย่างชัดแจ้งว่า มีความเป็นไปได้ที่จะบรรลุวัตถุประสงค์ของกฎหมาย หลักพอสมควรแก่เหตุอย่างแคบ : มาตรการที่รัฐเลือกใช้ จะต้องไม่ก่อให้เกิดภาระแก่ผู้ได้รับผลกระทบจนเกินขอบเขต หรือผลกระทบที่เกิดขึ้นจะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล หลักความจำเป็น : มาตรการที่รัฐออกมานั้น จะต้องก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิทธิ เสรีภาพ น้อยกว่า มาตรการอื่นที่รัฐมีอำนาจเลือกใช้ เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

11 ความเป็นมาของกฎอัยการศึกไทย
กฎอัยการศึก ร.ศ.126 ให้อำนาจพระมหากษัตริย์ และ ทหาร ประกาศใช้กฎอัยการศึก ประกาศได้เฉพาะกรณีเหตุจำเป็น สงคราม จลาจล ให้อำนาจของเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารค้น ขับไล่ ให้ส่งอาวุธและกระสุนดิน ตรวจและจับกุม เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

12 วัตถุประสงค์ของ กฎอัยการศึก พ.ศ.2457
เพื่อสำหรับวางแผนการรักษาพระราชอาณาจักร ด้วยอำนาจและกำลังทหาร ( กฎเสนาบดี ม.1 ) เพื่อตระเตรียมการให้พร้อมไว้ เมื่อมีเหตุจำเป็นก็ปฏิบัติการได้ถูกต้องทันที(กฎเสนาบดี ม.1 ) เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อย หรือ ป้องกันมิให้มีภัยคุกคาม ในยามที่หน่วยงานของรัฐอื่นขาดศักยภาพ เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

13 ผู้มีอำนาจประกาศ ใช้กฎอัยการศึก
ผู้มีอำนาจประกาศ ใช้กฎอัยการศึก เหตุที่จะประกาศ ใช้กฎอัยการศึก เหตุอันจำเป็นเพื่อรักษาความเรียบร้อยปราศจากภัย ซึ่งจะมีมาจากภายนอกหรือภายในราชอาณาจักร ( กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 ม.2) พระมหากษัตริย์ หรือผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ รัฐธรรมนูญ(2550)มาตรา 188 วรรคแรก บัญญัติว่า“ พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจในการประกาศใช้และเลิกใช้กฎอัยการศึกตามลักษณะและวิธีการตามกฎหมายว่าด้วยกฎอัยการศึก” (กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 ม.2) เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

14 ผู้มีอำนาจประกาศ ใช้กฎอัยการศึก
เหตุที่จะประกาศ ใช้กฎอัยการศึก ผู้บังคับบัญชาทหาร (ผบ.) (กฎอัยการศึก ม.4) ( รัฐธรรมนูญ มาตรา 188 วรรคสอง บัญญัติว่า “ในกรณีที่มีความจำเป็นต้องประกาศใช้กฎอัยการศึกเฉพาะแห่งเป็นการรีบด่วน เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารย่อมกระทำได้ตามกฎหมายว่าด้วยกฎอัยการศึก” ) - ผบ.ไม่น้อยกว่า 1 กองพัน - ผบ.ในป้อมหรือที่มั่นของทหาร มีสงคราม (กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 ม.4) มีการจลาจล ( กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 ม.4) เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

15 สายงานการบังคับบัญชา(หลัก)
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการทหารสูงสุด(ผบ.ทหารสูงสุด)(พล.อ.) ผู้บัญชาการทหารบก(ผบ.ทบ.)(พล.อ.) แม่ทัพภาค(มทภ.)(พล.ท.) ผู้บัญชาการกองพล(ผบ.พล)(พล.ต.) ผู้บังคับการกรม(ผบ.กรม)(พ.อ.) ผู้บังคับกองพัน(ผบ.พัน)(พ.ต.-พ.ท.) ผู้บังคับกองร้อย(ผบ.ร้อย)(ร.อ.-พ.ต.) ผู้บังคับหมวด(ผบ.มว)(ร.ต.-ร.ท.) ผู้บังคับหมู่(ผบ.ม)(ส.อ.-จ.ส.อ.) ลูกแถว เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

16 สามารถใช้อำนาจตามกฎอัยการศึก พ.ศ.2457 ได้
ข้อเหมือนกันระหว่างการประกาศใช้กฎอัยการศึกของพระมหากษัตริย์ กับ ผู้บังคับบัญชาทหาร พระมหากษัตริย์ ผู้บังคับบัญชาทหาร การมีผลใช้บังคับ สามารถใช้อำนาจตามกฎอัยการศึก พ.ศ.2457 ได้ การทบทวนการประกาศ ฝ่ายบริหารทบทวนได้เสมอ การประกาศเลิกใช้กฎอัยการศึก ต้องมีพระบรมราชโองการ เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

17 ข้อแตกต่างระหว่างการประกาศใช้กฎอัยการศึกของพระมหากษัตริย์ กับ ผู้บังคับบัญชาทหาร
เรื่องที่ประกาศใช้กฎอัยการศึก เหตุอันจำเป็นเพื่อรักษาความเรียบร้อย เฉพาะสงครามหรือจลาจลเท่านั้น อำนาจในการประกาศ นายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรี (พระมหากษัตริย์ทรงมีพระราชอำนาจตามแบบพิธี มีผู้ลงนามสนองพระบรมราชโองการ) รูปแบบการประกาศ พระบรมราชโองการ ประกาศ(ทั่วไป) เขตพื้นที่ในการประกาศ เฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใด หรือ ทั้งประเทศ ก็ได้ เฉพาะในเขตอำนาจหน้าที่ของกองทหารนั้น การรายงานหลังจากประกาศ ไม่ต้องรายงาน ต้องรีบรายงานรัฐบาล เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

18 ข้อแตกต่างของการประกาศใช้กฎอัยการศึกระหว่าง ผบ
ข้อแตกต่างของการประกาศใช้กฎอัยการศึกระหว่าง ผบ.ไม่น้อยกว่า 1 กองพัน กับ ผบ.ในป้อมหรือที่มั่น ผบ.ไม่น้อยกว่า 1 กองพัน ผบ.ในป้อมหรือที่มั่น ขนาดของกำลัง ต้องมีกำลังไม่น้อยกว่า 1 กองพัน อาจมีกำลังน้อยกว่า 1 กองพันก็ได้ ความเร่งด่วน ไม่ถึงขั้นมีราชศัตรูประชิดตัว มีราชศัตรูประชิดตัว ความเป็นอิสระ ต้องอิสระ อาจไม่อิสระก็ได้

19 หลักเกณฑ์และวิธีการประกาศ ใช้กฎอัยการศึก
1. ต้องประกาศเป็นลายลักษณ์อักษร 2. ต้องกล่าวถึงเหตุที่จะต้องประกาศใช้กฎ 3. ต้องกล่าวถึงพื้นที่ที่จะประกาศใช้กฎ 4. ต้องกล่าวถึงวันเวลาที่เริ่มใช้กฎ 5. ต้องกล่าวถึงตำบลที่เขียนประกาศและ วันเวลาที่ออกประกาศ เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

20 หลักเกณฑ์และวิธีการประกาศ ใช้กฎอัยการศึก
6. ต้องกล่าวถึงยศ บรรดาศักดิ์ หรือนาม ตำแหน่ง ของผู้ประกาศใช้กฎ 7. ควรปรึกษา ผบ.เหนือตน นายทหารเหนือตน ฝ่ายปกครอง เว้นแต่ ไม่มีเวลา 8. เมื่อประกาศแล้ว ให้รายงานชี้แจงเหตุผลต่อ รมว.กห. , ผบ.ของตน , คัดสำเนาพร้อมแผนที่ ส่งไปฝ่ายปกครอง , ให้ผู้ประกาศ ฯ และนายทหารในกรมกองชี้แจงประชาชนให้ทราบและเข้าใจวิธีการ เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

21 ผลของการประกาศใช้กฎอัยการศึก(1)
ข้อความในกฎหมายใด ขัดกับ ความของกฎอัยการศึก พ.ศ.2457 ข้อความนั้นต้องระงับและใช้บทบัญญัติของกฎอัยการศึก เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารมีอำนาจเหนือเจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือน มีอำนาจเหนือ คือ... เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหาร คือ... เจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือน คือ... เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

22 ผลของการประกาศใช้กฎอัยการศึก(2)
เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารมีอำนาจเต็ม ที่จะกระทำการดังนี้ เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

23 ห้าม(กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 มาตรา 11)
จำกัดเสรีภาพการสื่อสาร - ห้ามออก จำหน่าย จ่าย แจก ซึ่งหนังสือ สิ่งพิมพ์ หนังสือพิมพ์ ภาพ บท หรือคำประพันธ์(มาตรา 11(2)) - ห้ามโฆษณา แสดงมหรสพ รับหรือส่งซึ่งวิทยุ วิทยุกระจายเสียงหรือวิทยุโทรทัศน์(มาตรา 11(3)) เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

24 ห้าม / ขับไล่ จำกัดเสรีภาพการเดินทาง
- ห้ามออกนอกเคหะสถานระหว่างเวลา(มาตรา 11(6)) - ห้ามใช้ทางสาธารณะเพื่อการจราจร (มาตรา 11(4)) - ห้ามเข้า หรืออาศัย ในบริเวณที่จำเป็นเพื่อการยุทธการ ระงับปราบปราม หรือการรักษาความสงบเรียบร้อย เมื่อประกาศแล้ว ให้ผู้ซึ่งอาศัยออกไปจากเขตนั้นภายในกำหนดเวลา(มาตรา 11(7)) จำกัดเสรีภาพการเดินทาง - ขับไล่เมื่อสงสัย หรือจำเป็น - ผู้ซึ่งไม่มีภูมิลำเนา หรือ - ผู้ซึ่งอาศัยเพียงชั่วคราว ให้ออกไปจากเมืองหรือตำบลนั้น เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

25 ห้าม จำกัดเสรีภาพการชุมนุม - ห้ามมั่วสุมประชุม (มาตรา 11(1))
เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

26 ห้าม จำกัดสิทธิความเป็นเจ้าของ/กรรมสิทธิ์ ห้ามมีหรือใช้
เครื่องมือสื่อสาร อาวุธ เครื่องอุปกรณ์ของอาวุธ และ - เคมีภัณฑ์หรือสิ่งอื่นใด ที่ทำให้เกิดอันตราย ที่อาจทำเป็นเคมีภัณฑ์ หรือสิ่งอื่นใดดังกล่าว (มาตรา 11(5)) ห้ามกระทำ หรือมี ซึ่งกิจการหรือสิ่งอื่นใด ตามที่รมว.กห.กำหนด (มาตรา 11(8)) เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

27 ค้น (กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 มาตรา 9)
ค้น (กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 มาตรา 9) สิ่งซึ่งจะเกณฑ์/ห้าม/ยึด/เข้าอาศัย/มีไว้ในครอบครองโดยไม่ชอบ บุคคล ในยานพาหนะ/เคหสถาน/สิ่งปลูกสร้าง/ที่ใด ๆ และ ได้ทุกเวลา ข่าวสาร จดหมาย โทรเลข หีบ ห่อ หรือสิ่งอื่นที่ส่งหรือมีไปมาถึงกัน หนังสือ สิ่งพิมพ์ หนังสือพิมพ์ ภาพโฆษณา บทหรือคำประพันธ์ เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

28 กัก(กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 มาตรา 15ทวิ)
ในกรณีมีเหตุอันควรสงสัยว่า - บุคคลใดจะเป็นราชศัตรูหรือ - ได้ฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติของพระราชบัญญัตินี้ หรือ ต่อคำสั่งของเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหาร เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารมีอำนาจกักตัว เพื่อสอบถามหรือตามความจำเป็น แต่ต้องกักไม่เกินกว่า 7 วัน เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

29 เกณฑ์(กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 มาตรา 10)
(คน) พลเมืองให้ช่วยกำลังทหาร (ทรัพย์สิน) ยวดยาน สัตว์พาหนะ เสบียงอาหาร เครื่องศาตราวุธ และเครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ จากบุคคลหรือบริษัทใด ๆ ซึ่งราชการทหารจะต้องใช้เป็นกำลังในเวลานั้นทุกอย่าง เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

30 ยึด(กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 มาตรา 12)
ยึดสิ่งที่กำหนดไว้ในมาตรา 9 , 10 , 11 ไว้ชั่วคราว เพื่อมิให้เป็นประโยชน์แก่ราชศัตรู หรือเพื่อเป็นประโยชน์แก่ราชการทหาร เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

31 เข้าอาศัย (กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 มาตรา 13)
เข้าอาศัย (กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 มาตรา 13) เข้าพักอาศัยที่ซึ่งราชการทหารเห็นจำเป็น และใช้เป็นประโยชน์ในราชการทหาร เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

32 เปลี่ยนแปลงสถานที่ (กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 มาตรา 14(2))
สร้างที่มั่น หรือดัดแปลง ภูมิประเทศหรือหมู่บ้าน เมือง สำหรับการต่อสู้ราชศัตรู หรือเตรียมการป้องกันรักษา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

33 ทำลายสถานที่ (กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 มาตรา 14(1))
- เมื่อการสงคราม หรือรบสู้ เป็นรอง - มีอำนาจ - เผาบ้าน และสิ่งที่จะเป็นกำลังแก่ราชศัตรู เมื่อทหารถอยไปแล้ว - สิ่งที่กีดกันการสู้รบ เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

34 การดำเนินคดี(มาตรา 7) หลัก : ศาลพลเรือนคงมีอำนาจตามปกติ ข้อยกเว้น :
1. ผู้มีอำนาจประกาศใช้กฎฯ ให้ศาลทหารพิจารณาพิพากษา เฉพาะคดีอยู่ในอำนาจของศาลอาญาศึก และเป็นคดีตามที่ระบุในบัญชีต่อท้าย 2. ผู้บัญชาการทหารสูงสุดสั่งให้ศาลทหารพิจารณาพิพากษา เนื่องจากเห็นว่าเป็นคดีมีเหตุพิเศษ เกี่ยวกับความมั่นคง ความสงบ เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

35 ร้องขอค่าเสียหายหรือค่าปรับจากเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารไม่ได้ (มาตรา 16)
ห้ามร้องขอค่าเสียหายหรือค่าปรับ ซึ่งอาจเกิดขึ้น เนื่องจากการกระทำตามมาตรา 8 และมาตรา 15 แก่เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหาร เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

36 มอบอำนาจให้เจ้ากระทรวง (มาตรา 17)
ในเวลาปกติ รมว.กห.มีอำนาจตรากฎกระทรวงขึ้นสำหรับบรรยายข้อความ ในเวลาสงครามหรือจลาจล ผู้บัญชาการกองทัพไทย หรือรองผู้บัญชาการกองทัพไทย มีอำนาจออกข้อบังคับบรรยายความ เมื่อได้ประกาศกฎกระทรวง หรือข้อบังคับของแม่ทัพในทางราชการแล้ว ให้ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของพระราชบัญญัตินี้ เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์


ดาวน์โหลด ppt กฎอัยการศึก พันโท นิติน ออรุ่งโรจน์ โดย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google