ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPra Phatipatanawong ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย อ. วิภารัตน์ ภิบาลวงษ์ ภาควิชา พื้นฐานการพยาบาลและการบริหารวิชาชีพ
2
การพยาบาลเพื่อตอบสนองความต้องการด้านการเคลื่อนไหว
ชนิดของการเคลื่อนไหว มีข้อจำกัดอย่างถาวร ผู้ป่วยอัมพาต มีข้อจำกัดชั่วคราว ผู้ป่วยหลังผ่าตัด ใส่เฝือก หรือต้องใช้เครื่องถ่วงดึง เป็นต้น ระดับการจำกัด การเคลื่อนไหว การจำกัดการเคลื่อนไหวอย่างสมบูรณ์ การจำกัดการเคลื่อนไหวเพียงบางส่วน การจำกัดการเคลื่อนไหวเพื่อให้ร่างกายได้พักผ่อน
3
ประโยชน์ของการจำกัดการเคลื่อนไหว
ลดความเจ็บปวด ทำให้เนื้อเยื่อที่บาดเจ็บได้รับการซ่อมแซมและหายเร็วขึ้น ลดอาการบวม ช่วยเหลือผู้ป่วยที่อ่อนเพลียได้พักผ่อน
4
ระบบผิวหนัง....ทำให้ ทำให้ระบบผิวหนังเสียหน้าที่เกิดจาก
แรงกดทับ พบในผู้สูงอายุ ผู้ป่วยอ้วน มากหรือผอมมาก ผู้ป่วยอัมพาต สาเหตุ แรงกดทับ ( Pressure ) แรงเสียดทาน ( Friction) แรงดึงรั้ง ( Shearing force ) การป้องกัน ประเมินผู้ป่วยทุกวัน พลิกตะแคงตัวทุก 2 ชั่วโมง หลีกเลี่ยงการใช้แอลกอฮอล์ทาผิวเพราะทำให้ผิวแห้งแตกง่าย หลีกเลี่ยงการใช้ห่วงยางหรือโดนัทรอง รักษาความสะอาดของผิวหนังอย่าให้ชื้นหรือแห้งเกินไป ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับอาหารและน้ำอย่างเพียงพอ
5
แผลกดทับ
6
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ...ทำให้
กระดูกผุ เปราะบาง ( Osteoporsis) การประสานงานของกล้ามเนื้อแขนขาลดลงหรือไม่สัมพันธ์กัน กล้ามเนื้ออ่อนแรงลีบเล็ก ข้อตึงแข็ง อาการปวดหลัง
7
การป้องกัน.... กระตุ้นผู้ป่วยยืนเพื่อรับน้ำหนักให้เร็วที่สุด
ปรับเปลี่ยนอิริยาบถจากนอนเป็นนั่ง บริหารกล้ามเนื้อเน้นการเกิดแรงต้านหรือแรงกด ช่วยเหลือให้ทำกิจกรรมด้วยตนเอง ช่วยให้กล้ามเนื้อและข้อต่อมีการเคลื่อนไหว การทำ ROM exercise ตามข้อต่าง ๆ เปลี่ยนท่านอนบ่อย ๆ และจัดท่าที่ถูกต้อง ที่นอนเหมาะสม ใช้แผ่นกระดานยันปลายเท้า ป้องกันเท้าตก
8
ระบบหัวใจและหลอดเลือด....ทำให้
หัวใจทำงานมากขึ้น มีการคั่งของเลือดในหลอดเลือดดำที่ขา เกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำ ( Thrombus ) ความดันต่ำขณะเปลี่ยนท่า( Orthostatic Hypotension )
9
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
การป้องกัน เปลี่ยนอิริยาบถบ่อย ๆ ปรับหัวเตียงให้สูงเล็กน้อยเพื่อลดปริมาณเลือดจากขากลับสู่หัวใจมากเกินไป ใช้ผ้ายึดพันขาเพื่อเพิ่มเลือดดำกลับสู่หัวใจ กระตุ้นให้ผู้ป่วยมีการเคลื่อนไหวแขนขาบ่อย ๆ นอนขาไม่ซ้อนกันหลีกเลี่ยงการกดทับ หลีกเลี่ยงการวางหมอนรองใต้เข่า ดื่มน้ำมาก ๆ ลดความหนืดของเลือด ไม่ควรบีบนวดขาผู้ป่วย การเปลี่ยนอิริยาบถต้องเป็นลำดับให้เวลาผู้ป่วยปรับตัว
10
ระบบหายใจ... ทำให้ ปอดขยายตัวลดลง (Decrease Lung Expansion )
มีการคั่งของเสมหะมากขึ้น การป้องกัน กระตุ้นให้ผู้ป่วยทำ Deep Breathing Exercise การช่วยให้ผู้ป่วยได้เคลื่อนไหวและไออย่างมีประสิทธิภาพ สังเกตการหายใจ สังเกตอาการและอาการแสดงของ Hypostatic pneumonia
11
ระบบทางเดินอาหาร...ทำให้
มีผลต่อการรับประทานอาหารทำให้เบื่ออาหาร มีผลต่อการขับถ่ายทำให้ท้องผูก (Constipation) การป้องกัน ให้ผู้ป่วยเลือกรับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง ให้อาหารทีละน้อยแต่บ่อยครั้ง ให้ผู้ป่วยลุกไปถ่ายอุจจาระฝึกการถ่ายทุกวัน กระตุ้นให้ดื่มน้ำให้เพียงพอและรับประทานอาหารพวก ผัก ผลไม้ ให้ออกกำลังกล้ามเนื้อหน้าท้อง หลีกเลี่ยงการใช้ยาถ่าย ล้วงอุจจาระ (Digital evacuation)ถ้ามี (Fecal impaction)
12
ระบบทางเดินปัสสาวะ...ทำให้
การถ่ายปัสสาวะมากกว่าปกติในระยะแรก ๆ ( Diuresis ) มีการคั่งของปัสสาวะในไตและกระเพาะปัสสาวะ ( Urinary stasis) เกิดนิ่วในไตและกระเพาะปัสสาวะ ( Renal calculi) การป้องกัน สังเกตและช่วยเหลือในการขับถ่ายปัสสาวะ ช่วยให้ผู้ป่วยเคลื่อนไหวหรืออยู่ในท่านั่งหรือยืนถ้าไม่มีข้อห้าม สังเกตและบันทึกเกี่ยวกับการขับถ่ายปัสสาวะ กระตุ้นให้ผู้ป่วยดื่มน้ำมาก ๆ เพื่อเจือจางปัสสาวะ พยายามไม่ให้ปัสสาวะเป็นกรด โดยให้รับประทานอาหารโปรตีน และวิตามินซี
13
ระบบเมตาบอลิซึมและการเผาผลาญอาหาร..ทำให้
เผาผลาญอาหารลดลง มีระดับโปรตีนในกระแสเลือดต่ำ มีความผิดปกติด้านอัตมโนทัศน์และภาพลักษณ์ การป้องกัน ส่งเสริมภาวะโภชนาการให้เหมาะสม ตรวจสอบภาวะสารเหลวเกินหรืออาการบวมน้ำ ให้การดูแลอย่างสุภาพ นุ่มนวล ให้เกียรติผู้ป่วย กล่าวชมเชยในการทำกิจกรรมบางอย่างได้สำเร็จเพื่อให้เกิดความมั่นใจ กระตุ้นให้เข้าร่วมกิจกรรม
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.