งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริหารจัดการท้องถิ่น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริหารจัดการท้องถิ่น"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริหารจัดการท้องถิ่น
ปัจจุบัน การเมือง การปกครองท้องถิ่นของหลายๆประเทศ มีการดำเนินงานที่ซับซ้อนมากขึ้น มีผู้เข้าร่วมมากขึ้น ประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมมากขึ้นในการตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบายท้องถิ่นเช่น ยาเสพติดในชุมชน ขยะ น้ำท่วม อาคารสูง น้ำเสียจากโรงงาน การบริหารจัดการท้องถิ่นจึงนัยที่หมายถึง กระบวนการดำเนินการร่วมกันโดยหลายภาคส่วนเพื่อบรรลุกิจการสาธารณะในเงื่อนไขที่ไม่อาจใช้อำนาจรัฐเพียงอย่างเดียวในการบรรลุภารกิจได้

2 ปัจจัยภายนอก ระบบโลกาภิวัตน์ ระบบเศรษฐกิจแบบเสรี
การเปลี่ยนแปลงจากการปกครองท้องถิ่น เป็นการบริหารจัดการท้องถิ่นไม่ใช่การปรับตัวแต่ เป็นการเปลี่ยนระบบ โดยปัจจัยภายนอกและปัจจัยท้องถิ่น ปัจจัยภายนอก ระบบโลกาภิวัตน์ ระบบเศรษฐกิจแบบเสรี ภาคธุรกิจ ภาคประชาชนต้องการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับกิจการสาธารณธะมากขึ้น สถานการณ์ที่เปลี่ยนไปเช่น สภาพแวดล้อมเสื่อมโทรม แรงงานอพยพ ความต้องการประสิทธิภาพ การกระจายอำนาจและก้าวพ้นไปจากระบบราชการ

3 ปัจจัยท้องถิ่น ท้องถิ่นแต่ละแห่งมีองค์ประกอบต่างกันเช่น อังกฤษมีปัญหาการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจสากล ญี่ปุ่นมีปัญหาประชากร พื้นที่จำกัด วัตถุดิบ ฯลฯ ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก มีผลให้ท้องถิ่นจำเป็นต้องมีระบบบริหารจัดการแบบใหม่

4

5 รูปแบบการปกครองส่วนท้องถิ่น
การประชุมเมือง Town Meeting สภา – นายกเทศมนตรี นายกเทศมนตรี แบบอ่อน นายกเทศมนตรี แบบมีอำนาจมาก แบบผู้จัดการ แบบคณะกรรมการ

6 การประชุมเมือง Town Meeting เก่าแก่ที่สุด โดยตรง มีตัวแทน ตั้งคณะกรรมการ
สภา – นายกเทศมนตรี ยึดหลักการระบบรัฐสภา นายกเทศมนตรี แบบอ่อน ถ่วงดุลอำนาจ ประชาชนมีสิทธิและส่วนร่วมมาก โดยเลือกตั้งผู้บริหารงานท้องถิ่น ตำแหน่งต่างๆ

7 นายกเทศมนตรี แบบมีอำนาจมาก ( เลือกตั้งนายกเทศมนตรีโดยตรง และนายกเทศมนตรีแต่งตั้งหัวหน้าฝ่ายบริหาร Chief Administrative Officer (CAO) แบบผู้จัดการ เน้นการบริหารงานแบบภาคธุรกิจ สภาจ้างและถอดถอนผู้จัดการเมือง แบบคณะกรรมการ มาจากการเลือกตั้งทำหน้าที่ทั้งออกกฎหมายและบริหารงาน

8 ภารกิจรัฐ ภารกิจท้องถิ่น
การบริหารราชการแผ่นดิน การบริหารราชการส่วนกลาง สำนักนายก กระทรวง กรม บริหารราชการส่วนภูมิภาค บริหารราชการส่วนท้องถิ่น จังหวัด ส่วนราชการประจำจังหวัด อบจ. กทม. เทศบาล เมือง พัทยา อำเภอ ส่วนราชการประจำอำเภอ อบต. ภารกิจรัฐ ภารกิจท้องถิ่น

9 ความสัมพันธ์ระหว่างภารกิจ
ภารกิจรัฐ ภารกิจท้องถิ่น รักษาความสงบเรียบร้อย ป้องกันประเทศ การต่างประเทศ การอำนวยความยุติธรรม การอุตสาหกรรม การไฟฟ้า การประปา การขนส่ง การศึกษา การสาธารณสุข ศิลปวัฒนธรรม กำจัดขยะมูลฝอย รักษาความสะอาด ให้มีน้ำสะอาดหรือการประกา การตลาด โรงฆ่าสัตว์ ให้มีและบำรุงทางบก ทางน้ำ ดูแลรักษาที่สาธารณะ

10 การปกครองส่วนท้องถิ่นและการกระจายอำนาจ
 การกระจายอำนาจให้แก่ ท้องถิ่น ตัดสินใจตามอำนาจหน้าที่  หน่วยองค์กรท้องถิ่นมีฐานะเป็น นิติบุคคล  มีงบประมาณของตนเอง  มีสภาและผู้บริหารท้องถิ่น  มีบุคลากรท้องถิ่น  ข้อบัญญัติท้องถิ่น แบ่งเบาภารกิจของรัฐบาล ปัญหาท้องถิ่นได้รับการแก้ไข ส่งเสริมท้องถิ่นพัฒนาบทบาทของตนเอง พื้นฐานการพัฒนาสู่ระดับชาติ สร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน

11 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สภา ท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น ส. อบจ. ส. อบต. ส. เทศบาล นายก อบจ. นายก อบต. นายกเทศมนตรี มาจากการเลือกตั้งของประชาชนโดยตรง มาจากการเลือกตั้ง พนักงานและข้าราชการส่วนท้องถิ่น


ดาวน์โหลด ppt การบริหารจัดการท้องถิ่น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google