ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
CHAPTER 8 Sinusoids and Phasors
A. Aurasopon Electric Circuits ( )
2
วัตถุประสงค์และเนื้อหา
ไซนูซอยด์ เฟสเซอร์ ความสัมพันธ์ระหว่างเฟสเซอร์กับอุปกรณ์ อิมพีแดนซ์และแอดมิทแตนซ์ การรวมอิมพีแดนซ์ A. Aurasopon Electric Circuits ( )
3
ไซนูซอยด์เป็นฟังก์ชันของมุม ไซนูซอยด์เป็นฟังก์ชันเวลา
Sinusoidal signal ไซนูซอยด์เป็นฟังก์ชันของมุม ไซนูซอยด์เป็นฟังก์ชันเวลา คือขนาดของไซนูซอยด์ คือความถี่เชิงมุม (Angular frequency) มีหน่วยเป็นเรเดียนต่อวินาที คือ มุมของไซนูซอยด์ A. Aurasopon Electric Circuits ( )
4
Sinusoidal signal คือมุมของเฟส ล้าหลัง ด้วยมุม นำหน้า ด้วยมุม
A. Aurasopon Electric Circuits ( )
5
จำนวนเชิงซ้อนที่แสดงขนาดและเฟสของไซนูซอยด์
Phasor จำนวนเชิงซ้อนที่แสดงขนาดและเฟสของไซนูซอยด์ Rectangular form Polar form คือขนาดและ คือเฟส ของ Exponential form คือขนาดและ คือเฟส ของ A. Aurasopon Electric Circuits ( )
6
Relationship between the rectangular
form and polar form. A. Aurasopon Electric Circuits ( )
7
การคูณ (Multiplication)
Important operations กำหนดจำนวนเชิงซ้อน การบวก (Addition) การลบ (Subtraction) การคูณ (Multiplication) A. Aurasopon Electric Circuits ( )
8
ส่วนกลับ (Reciprocal)
Important operations การหาร (Division) ส่วนกลับ (Reciprocal) รากกำลังสอง (Square root) เชิงซ้อนสังยุค (Complex conjugate) A. Aurasopon Electric Circuits ( )
9
ใช้ออยเลอร์แสดงความสัมพันธ์
Euler’s identity ส่วนจริง ส่วนจินตภาพ ไซนูซอยด์ ใช้ออยเลอร์แสดงความสัมพันธ์ หรือ ดังนั้น โดยที่ A. Aurasopon Electric Circuits ( )
10
โดเมนเฟสเซอร์หรือโดเมนความถี่
Transforming time domain to frequency domain โดเมนเวลา โดเมนเฟสเซอร์หรือโดเมนความถี่ A. Aurasopon Electric Circuits ( )
11
Phasor relationships for circuit elements
สมมุติมีกระแสไหล เกิดแรงดันตกคร่อม แสดงเป็นเฟสเซอร์ได้ A. Aurasopon Electric Circuits ( )
12
Phasor relationships for circuit elements
สมมุติมีกระแสไหล เกิดแรงดันตกคร่อม แสดงเป็นเฟสเซอร์ได้ A. Aurasopon Electric Circuits ( )
13
Phasor relationships for circuit elements
สมมุติแรงดันตกคร่อม เกิดกระแสไหลผ่าน แสดงเป็นเฟสเซอร์ได้ A. Aurasopon Electric Circuits ( )
14
Impedance and admittance
ความสัมพันธ์ของแรงดัน-กระแสในอุปกรณ์ทั้งสาม แสดงในรูปอัตราส่วนแรงดันต่อกระแส จากกฎของโอห์มหรืออัตราส่วนด้านบนแสดงได้เป็น หรือ Z เรียกว่าอิมพีแดนซ์เป็นปริมาณที่ขึ้นอยู่กับความถี่หน่วยเป็นโอห์ม A. Aurasopon Electric Circuits ( )
15
Impedance and admittance
อิมพีแดนซ์สามารถถูกเขียนได้ในพิกัดสี่เหลี่ยม โดยที่ คือความต้านทานและ คือรีแอคแตนซ์ หรือแสดงในพิกัดโพลาร์ ความสัมพันธ์ต่อพิกัดทั้งสอง โดยที่ A. Aurasopon Electric Circuits ( )
16
Impedance and admittance
Y แอดมิทแตนซ์คือส่วนกลับของอิมพีแดนซ์หน่วยวัดคือซีเมนส์ หรืออาจเขียน Y ให้อยู่ในรูปดังนี้ โดยที่ เรียกว่าความนำและ เรียกว่าซัสแซพแตนซ์ ความสัมพันธ์ระหว่าง Z กับ Y A. Aurasopon Electric Circuits ( )
17
Series-connected Impedances
KVL อิมพีแดนซ์รวม A. Aurasopon Electric Circuits ( )
18
Voltage division. กระแสรวม ดังนั้น และ A. Aurasopon
Electric Circuits ( )
19
Parallel-connected Impedances
KCL อิมพีแดนซ์และแอทมิทแตนซ์รวม และ A. Aurasopon Electric Circuits ( )
20
อิมพีแดนซ์และแอทมิทแตนซ์รวม
Current division. อิมพีแดนซ์และแอทมิทแตนซ์รวม แรงดันตกคร่อมวงจร ดังนั้นกระแสที่ไหลผ่านอิมพีแดนซ์แต่ละตัว A. Aurasopon Electric Circuits ( )
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.