งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 3 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 3 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 3 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
OUTLINE 1. ตัวดำเนินการ (Operator) 2. นิพจน์(Expression) 3. คำสั่งเชิงเดียว และ คำสั่งเชิงกลุ่ม

2 ตัวดำเนินการ (Operator)
เทียบได้กับคำสั่งให้ดำเนินกรรมวิธีกับข้อมูล ทางคณิตศาสตร์ บูลีน การเปรียบเทียบ และ อื่นๆ

3 ตัวดำเนินการ (Operator)
ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ (arithmetic operator) มี +, -, *, /, div, mod ตัวดำเนินการระดับบิต (bitwise operators/ logical operator) ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ (relational operators)

4 ตัวดำเนินการ (Operator)
ตัวดำเนินการบูลีน (boolean operator) ตัวดำเนินการแอดเดรส (address operator) ตัวดำเนินการเซต (set operator) ตัวดำเนินการสตริง (string operator)

5 ตัวดำเนินการระดับบิต
ตัวดำเนินการระดับบิต (bitwise operators) ต้องเป็นเลขจำนวนเต็มเท่านั้น shl(shift left) เลื่อนข้อมุลทุกบิตไปทางซ้าย โดยจำนวนครั้งอยู่ทางขวาของตัวดำเนินการ เช่น 2 shl 1 จะได้ค่า 4 2 shl 2 จะได้ค่า 8

6 ตัวดำเนินการระดับบิต
ถ้าข้อมูลเป็น byte จะใช้เนื้อที่ 1 ไบต์ มี 8 บิต และมี ค่าเป็น 2แล้วการ shl ทำได้ดังนี้ 1. ข้อมูลมีค่า มีค่า 2 2. ถ้าใช้ 2 shl หลังเลื่อนมีค่าเป็น 4 3. ถ้าใช้ 15 shl หลังเลื่อนมีค่าเป็น 60

7 ตัวดำเนินการระดับบิต
Shl ถ้าเลื่อนไปทางซ้าย จะเหมือนกับเอาข้อมูล คูณด้วย สองยกกำลังจำนวนครั้งที่เลื่อน เช่น 15 shl 2 จะเท่ากับ 15 * 22 = 60 shr(shift right) เลื่อนข้อมูลทุกบิตไปทางขวา Shl ถ้าเลื่อนไปทางขวา จะเหมือนกับเอาข้อมูล หารด้วย สองยกกำลังจำนวนครั้งที่เลื่อน เช่น 15 shr 2 จะเท่ากับ 15 / 22 = 3 ได้ผลหารไม่มีเศษ

8 ตัวดำเนินการระดับบิตแบบตรรกะ
AND ระดับบิต ทำกับเลขจำนวนเต็ม 2 จำนวน จะ and เฉพาะบิตที่ตรงกันเท่านั้น เช่น 15 and 9 ค่า ค่า 15 and

9 ตัวดำเนินการระดับบิตแบบตรรกะ
OR ระดับบิต ทำกับเลขจำนวนเต็ม 2 จำนวน จะ OR ในบิตที่ตรงกัน เช่น 15 OR 9 ค่า ค่า 15 OR

10 ตัวดำเนินการระดับบิตแบบตรรกะ
XOR (Exclusive or) ระดับบิต ทำกับเลขจำนวนเต็ม ลักษณะการทำงานคือ ถ้าบิตตรงกันมีค่าต่างกันผลลัพธ์เป็น 1 ถ้าบิตตรงกันมีค่าเหมือนกันผลลัพธ์เป็น 0 ค่า ค่า 15 XOR

11 ตัวดำเนินการระดับบิตแบบตรรกะ
Not ระดับบิต เป็นตัวดำเนินการที่มีค่าอยู่หลัง not ซึ่งจะทำการกลับบิต เช่น not 17 ค่า not มีค่า -18

12 โปรแกรมการใช้ Operator
PROGRAM operator1; USES Wincrt; begin writeln('+: ',25+50); writeln('/: ',25/50:5:2); writeln('MOD: ',50 mod 3); writeln('DIV: ',50 div 3);

13 โปรแกรมการใช้ Operator
writeln('shl: ',1 shl 1:5, 2 shl 2:5, 2 shl 3:5); writeln('shr: ',15 shr 1:5, 15 shr 2:5, 15 shr 3:5); writeln('and: ',25 and 50); writeln('OR: ', 25 or 50); writeln('XOR: ',25 XOR 50); writeln('not: ', not 25); end.

14 ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ
มีค่าที่ต้องการเปรียบเทียบอยู่ระหว่างตัวดำเนินการ ผลลัพธ์เป็นบูลีน คือ false , true >, <, >=, <=, <>, in ‘E’ in [‘a’,’e’,’i’,’o’,’u’] 2 < 3

15 ตัวดำเนินการบูลีน ตัวดำเนินการบูลีน มี 4 ตัว and, or, xor, not มีการทำงานเหมือนระดับบิต ต่างตรงที่ สองข้างของตัวดำเนินการเป็นบูลีน เช่น (a>13) and (b < 5) ผลลัพธ์มี จริงกับเท็จ

16 ตัวดำเนินการบูลีน Aมีค่า B มีค่า A and B A or B A xor B not A
T T T T F F T F F T T F F T F T T T F F F F F T

17 ตัวดำเนินการแอดเดรส ตัวดำเนินการแอดเดรส มี 2 ตัวคือ @ และ^
@ ใช้บอกตำแหน่งในหน่วยความจำของตัวแปร เช่น ตัวแปร sum จะได้ที่อยู่ในหน่วยความจำของ sum

18 ตัวดำเนินการเซต และ สตริง
ตัวดำเนินการเซต มี + union - intersection * difference ตัวดำเนินการสตริง มี ตัวเดียว คือ concatenate +เป็นการเชื่อมตัวอักษรเข้าด้วยกัน เช่น ‘a’ +’bc’ ได้ abc

19 ลำดับการทำงานของตัวดำเนินการ
not 2. *, /, div, mod, and, shl, shr 3. +, -, or, xor 4. =, <> , < , > , <= , >= , IN ถ้ามีฟังก์ชัน หรือ วงเล็บให้ทำก่อน

20 นิพจน์คณิตศาสตร์ นิพจน์ อาจเป็น ตัวแปร ค่าคงที่ หรือ ฟังก์ชัน
นิพจน์ทางคณิตศาสตร์ คือ นิพจน์ที่ใช้ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ +, - , * , / , div , mod โดยข้อมูลต้องเป็นตัวเลข หากมีการผสมระหว่างเลขจำนวนเต็ม และ จำนวนจริง เลขจำนวนเต็มจะถูกเปลี่ยนเป็นจำนวนจริงโดยอัตโนมัต หากต้องการเก็บค่าของเลขจำนวนจริงไว้ในเลขจำนวนเต็มต้องใช้ ฟังก์ชัน trunc(R) round( R) ก่อน

21 การสร้างนิพจน์ทางคณิตศาสตร์
5(num+total ) ===> * (num + total) (x2 +y2) ====> SQR(x*x + y*y) หรือ SQR(SQR(x)+SQR (y)) -b+ b2- 4ac ===> (-b+SQRT(SQR(b)-4*a*c))/ (2*a) 2a

22 ตัวอย่างนิพจน์ทางคณิตศาสตร์
PROGRAM expression1; USES Wincrt; VAR a,b,tem1,tem2 :integer; c,d,tem3 : real; BEGIN clrscr; a:= 27; b:=4; c:= 56.2; d:= 7.0;

23 ตัวอย่างนิพจน์ทางคณิตศาสตร์
Writeln ('int,int: ', A+B:15, a-b:15, a*b:15, a/b:25); Writeln('int,rel: ',a+c:18, a-c:18, a*c:18, a/c:18); Writeln('rel,int: ',d+b:18,d-b:18,d*b:18,d/c:18); Writeln('rel,rel: ',c+d:18,c-d:18,c*d:18,c/d:18); tem1 := a div b; tem2 := a mod b; tem3 := a div b; Writeln (tem1:20,tem2:20,tem3:20) End.

24 นิพจน์แบบบูลีน Count < total
นิพจน์แบบบูลีน มีค่า จริงกับเท็จเท่านั้น เพราะฉะนั้นต้องประกาศตัวแปลงแบบบูลีน ตัวอย่าง: VAR count,total :integer; length,height : real; done : boolean: Count < total (count=total) and(length>height) and done (count mod total =0) or(count <= 100)

25 นิพจน์แบบบูลีน PROGRAM operator1; USES Wincrt; VAR a, b : real;
flag : boolean; begin write('Enter a:'); Readln (a); write('Enter b:'); Readln (b); flag := a < b; Writeln(flag); end.

26 คำสั่งเชิงเดียว และ คำสั่งเชิงกลุ่ม
คำสั่งเชิงเดียว คือ ประโยคคำสั่ง 1 คำสั่ง คำสั่งเชิงกลุ่ม (compound statement) เมื่อต้องการให้มีคำสั่งหลายประโยคหรือ เป็นกลุ่มคำสั่งให้จัดอยู่ในคอมเปานด์ มีรูปแบบดังนี้ begin statement 1; : statement N end

27

28


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 3 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google