ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยNawanthorn Sangwit ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
ความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์ (Standard Error of Estimate: SEE)
ในการพยากรณ์ค่าของตัวแปรตาม Y ที่เกิดจากการกำหนดค่าของตัวแปรอิสระหรือตัวแปรต้น X จากสมการถดถอยที่ได้ จะมีประโยชน์ต่อการพยากรณ์มากเพียงใดนั้น ขึ้นอยู่กับข้อมูลที่รวบรวมมาว่ามีการกระจัดกระจายไปจากเส้นกราฟหรือสมการถดถอยมากน้อยเพียงใด ถ้าค่าของตัวแปรตาม Y แต่ละค่าแตกต่างไปจากเส้นกราฟถดถอยที่ประมาณขึ้นมามาก การพยากรณ์ค่าของตัวแปรตาม Y โดยใช้เส้นกราฟถดถอยก็จะเกิดความคลาดเคลื่อนมาก แต่ถ้าค่าที่รวบรวมมาแต่ละค่าอยู่บนเส้นกราฟถดถอยหรืออยู่ใกล้ๆ เส้นกราฟถดถอยมากเท่าใด การพยากรณ์ค่าของตัวแปรตาม Y โดยใช้เส้นกราฟถดถอยก็จะถูกต้องมากขึ้นเท่านั้น
3
ความแตกต่างระหว่างค่าของตัวแปรตาม Y ที่เกิดจากการพยากรณ์กับค่าที่ได้จากการรวบรวม เรียกว่า ความคลาดเคลื่อน (Error หรือ Residual) ใช้ตัวย่อว่า e โดยที่ ซึ่งค่าความคลาดเคลื่อนนี้จะใช้เป็นตัวพยากรณ์ค่าการกระจายของข้อมูลรอบๆ เส้นกราฟถดถอย สำหรับสถิติที่ใช้วัดการกระจายของข้อมูลรอบๆ เส้นกราฟถดถอย เรียกว่า ความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์ (Standard Error of Estimate: SEE) ซึ่งเป็นส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานชนิดหนึ่งที่เป็นการเบี่ยงเบนของคะแนนพยากรณ์จากคะแนนที่รวบรวมมาได้
4
หลักการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้น “Method of Least Square”
Y=a+bX
8
ตัวอย่างที่ 1
10
เปิด Excel เพื่อทำการหาค่า a และ b
หาสมการความสัมพันธ์ระหว่างน้ำหนักตัว(X) กับอัตราการใช้พลังงาน (Y) จากสมการ Y = a +bX ขั้นตอนการคำนวณ : หา a และ b ก่อน จากสูตร เปิด Excel เพื่อทำการหาค่า a และ b
11
b = a = 4.59
12
b = 28.59359 (สัมประสิทธิ์การถดถอย) a = 4.59
ดังนั้น สมการที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร X กับตัวแปร Y ซึ่งเป็นสมการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างน้ำหนักตัวของเยาวชนกับอัตราการใช้พลังงาน ก็คือ b = (สัมประสิทธิ์การถดถอย) a = 4.59 Y = a + bX Y = X
13
อัตราการใช้พลังงานในแต่ละวัน (Y) ของเยาวชนคนหนึ่งที่มีน้ำหนักตัว 52
อัตราการใช้พลังงานในแต่ละวัน (Y) ของเยาวชนคนหนึ่งที่มีน้ำหนักตัว 52.5 กิโลกรัม (X) สามารถหาได้จากการแทนค่าในสมการแสดงความสัมพันธ์ดังนี้ Y = X = ? Y = (52.5) = 1506 กิโลแคลอรี่ต่อวัน
14
หลังจากที่ได้สมการเส้นตรง Y = 4. 59 + 28
หลังจากที่ได้สมการเส้นตรง Y = X ซึ่งแสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร X กับตัวแปร Y แล้ว จะพบว่า b มีค่า ซึ่ง b ก็คือค่าสัมประสิทธิ์การถดถอย โดยมีค่าเป็นบวก แสดงว่า เมื่อเยาวชนมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น อัตราการใช้พลังงานแต่ละวันก็จะมีค่าเพิ่มขึ้น โดยเฉลี่ย กิโลแคลอรี
15
จากสมการถดถอย Y = X สามารถนำไปคำนวณหาค่าความคลาดเคลื่อน ของตัวแปร Y ได้ โดยแทนค่าลงในสมการและเขียนลงในตารางเพื่อเปรียบเทียบค่าที่ได้จากการ พยากรณ์กับค่าที่แท้จริง (Y) ดังนี้
16
คนที่เท่าไหร่มีค่าความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด/มากที่สุด
น้ำหนัก (X) พลังงาน (Y) ความคลาดเคลื่อน 1 36.1 995 2 33.1 913 3 40.3 1189 32.233 4 42.4 1124 5 41.2 1204 21.502 6 34.5 1052 61.055 7 42.0 1418 212.63 8 54.6 1425 9 48.5 1396 4.795 10 1256 50.63 11 51.1 1347 12 50.6 1502 50.756 คนที่เท่าไหร่มีค่าความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด/มากที่สุด
17
ความคลาดเคลื่อน คนที่ น้ำหนัก (X) พลังงาน (Y) 1 36.1 995 1036.689
2 33.1 913 3 40.3 1189 32.233 4 42.4 1124 5 41.2 1204 21.502 6 34.5 1052 61.055 7 42.0 1418 212.63 8 54.6 1425 9 48.5 1396 4.795 10 1256 50.63 11 51.1 1347 12 50.6 1502 50.756
18
เมื่อ a = 4.59, b = 28.59, N = 12 แทนค่า =
19
จุดที่คลาดเคลื่อนน้อยที่สุด (48.5,1396)
จุดที่คลาดเคลื่อนมากที่สุด (54.6,1425) เส้นกราฟถดถอย
20
หลักการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้น “Method of Least Square”
Y=a+bX
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.