งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การกำหนดประเด็นสอบสวน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การกำหนดประเด็นสอบสวน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การกำหนดประเด็นสอบสวน
ปรีชา นิศารัตน์

2 ประเด็น คือ จุดสำคัญที่จะต้องพิสูจน์หรือวินิจฉัย เพราะเป็นจุดที่ยังโต้เถียงกันอยู่ หรือยังไม่ได้ความกระจ่างชัด หากเป็นที่กระจ่างชัดหรือรับกันแล้ว ก็ไม่เป็นประเด็นที่จะต้องพิสูจน์หรือวินิจฉัย 1

3 วิ. แพ่ง มาตรา วรรคแรก “…………ข้อกฎหมายหรือข้อเท็จจริงที่ คู่ความฝ่ายหนึ่งยกขึ้นอ้าง แต่คู่ความฝ่ายอื่นไม่รับและเกี่ยวเนื่องโดยตรงกับประเด็นข้อพิจารณาตามคำคู่ความ ให้ศาลกำหนดไว้เป็นประเด็นข้อพิพาท และกำหนดให้คู่ความฝ่ายใดนำพยานหลักฐานมาสืบในประเด็นข้อใดก่อนหรือหลังก็ได้” 2

4 ข้อสังเกต ถ้อยคำหรือพยานหลักฐานฝ่ายกล่าวหารับกันเรียกว่า ข้อเท็จจริง
เมื่อเป็นข้อเท็จจริงแล้วก้ไม่มีประเด็นที่จะต้องพิสูจน์ต่อไปอีก ข้อสังเกต ประเด็นนั้น จะเปลี่ยนแปลงไปได้ตลอดเวลาตามคำรับ คำปฏิเสธ ตามข้อต่อสู้ หรือตามข้อมูลที่เพิ่มขึ้น 3

5 กฎ ก.พ. ฉบับที่ 18 (พ.ศ. 2540) ข้อ 6 เมื่อได้รับเรื่องตามข้อ 5 (2) แล้ว (ได้รับสำเนาคำสั่งตั้งกรรมการสอบสวน การทราบคำสั่งของผู้ถูกกล่าวหา พร้อมเอกสารหลักฐาน) ให้ประธานกรรมการดำเนินการประชุมคณะกรรมการสอบสวน เพื่อพิจารณาวางแนวทางการสอบสวนต่อไป 4

6 การกำหนดประเด็นสอบสวน
เป็นการกำหนดจุดสำคัญที่จะต้องพิสูจน์ว่าผู้ถูกกล่าวหาได้กระทำผิดวินัยตามข้อกล่าวหาในกรณีใด อย่างไรหรือไม่ เป็นการวางแผนในการสอบสวนล่วงหน้า เพื่อให้การสอบสวนดำเนินไปสู่จุดมุ่งหมายที่ มุ่งพิสูจน์ อย่างมีทิศทางถูกต้อง และรวดเร็ว 5

7 การกำหนดประเด็นสอบสวน
ต้องการทำเพื่อให้ * สามารถชี้ผิดชี้ถูกได้ * ปรับบทความผิดได้ * กำหนดระดับโทษได้ 6

8 การกำหนดประเด็นสอบสวน
เป็นเรื่องนำทางให้การสอบสวน เป็นไปตามรูปเรื่องที่กล่าวหา รอบคอบ รัดกุม รวดเร็ว 7

9 การกำหนดประเด็นสอบสวน (ต่อ). ได้ข้อเท็จจริงโดยละเอียดครบถ้วน
การกำหนดประเด็นสอบสวน (ต่อ) ได้ข้อเท็จจริงโดยละเอียดครบถ้วน - สอบสวนให้หมดประเด็น - สอบให้สิ้นกระแสความ ให้ได้ความจริง สามารถพิสูจน์ความผิด และกำหนดระดับโทษได้ ผู้ถูกกล่าวหาสามารถชี้แจ้งได้ตรงกับเรื่อง ที่กล่าวหา ไม่หลงข้อต่อสู้ 8

10 แนวทางการกำหนดประเด็นสอบสวน
ศึกษาจาก คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน 2. เอกสารหลักฐานและข้อมูลเบื้องต้นที่มีอยู่ 3. คำชี้แจงเบื้องต้นของผู้ถูกกล่าวหา 4. บทกฎหมายที่ว่าด้วยวินัยในส่วนที่เกี่ยวกับ ข้อกล่าวหา 9

11 จุดสำคัญที่จะต้องพิสูจน์หรือวินิจฉัยในการดำเนินการทางวินัย มี 3 ด้าน
จุดสำคัญที่จะต้องพิสูจน์หรือวินิจฉัยในการดำเนินการทางวินัย มี 3 ด้าน 1. ประเด็นเกี่ยวกับการกระทำในเรื่องที่กล่าวหา จะต้องพิสูจน์ว่าผู้ถูกกล่าวหา - ทำอะไร - ทำที่ไหน - ทำเมื่อไร -ทำอย่างไร - เพราะเหตุใด เพื่อใช้ในการวินิจฉัยว่าได้กระทำผิดวินัยหรือไม่ 10

12 จุดสำคัญที่จะต้องพิสูจน์หรือวินิจฉัย (ต่อ)
จุดสำคัญที่จะต้องพิสูจน์หรือวินิจฉัย (ต่อ) 2. ประเด็นเกี่ยวกับกรณีความผิด จะต้องพิสูจน์ว่า ผู้ถูกกล่าวหากระทำผิดในกรณีใด เพื่อใช้ในการวินิจฉัยปรับบทลงโทษว่าได้กระทำผิดตามมาตราใด 11

13 จุดสำคัญที่จะต้องพิสูจน์หรือวินิจฉัย (ต่อ)
จุดสำคัญที่จะต้องพิสูจน์หรือวินิจฉัย (ต่อ) 3. ประเด็นเกี่ยวกับความร้ายแรงแห่งกรณี จะต้องพิสูจน์ว่า การกระทำของผู้ถูกกล่าวหานั้นมีพฤติการณ์ร้ายแรงเพียงใด หรือเสียหาย แก่ทางราชการร้ายแรงเพียงใด เพื่อใช้ในการ วินิจฉัยกำหนดระดับโทษหนักหรือเบาที่จะลง แก่ผู้ถูกกล่าวหา 12

14 ประเด็นสอบสวนที่จะหาข้อมูล มาใช้พิสูจน์ความจริง
โดยวิธีการ - จะสอบพยานคนใดก่อน - จะรวบรวมพยานอย่างไร - ดูประเด็นที่กล่าวหาว่ามีเรื่องอะไรบ้าง 13


ดาวน์โหลด ppt การกำหนดประเด็นสอบสวน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google