งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ขบวนการสร้างตัวอสุจิ (Spermatogenesis)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ขบวนการสร้างตัวอสุจิ (Spermatogenesis)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ขบวนการสร้างตัวอสุจิ (Spermatogenesis)
เกิดขึ้นใน Semimiferous tubule ระยะเวลา Bull 15 days Boar 9 days Ram 10 days Horses 12 days

2 ตำแหน่งที่สร้างตัวอุจิและการเคลื่อนย้ายภายในอัณฑะ

3 ปัจจัยควบคุมการสร้างตัวอสุจิ
1) Endocrine FSH ---> spermatogonia to primary spermatocytes LH -----> supporting cell และ การหลั่ง Testosterone Testosterone ---> primary spermatocytes to spermatozoa 2) External factors ฤดูกาล : = ช่วงแสง และอุณหภูมิ การจัดการ

4 การควบคุมการสร้าง ตัวอสุจิโดยฮอร์โมน

5

6

7 Spermatogenesis - เริ่มต้นจาก Type A Spermatogonia และพัฒนาตามลำดับ
A > A > A2 ----> A3 ----> In A A Mitosis B1 ---->B2 Secondary spermatocyte Primary spermatocyte Spermatid Miosis

8 - Type A0 ถึง A3 : เป็นเซลล์มีขนาดใหญ่ แบน, อยู่ติดกับผนังของ Seminiferous tubule, nucleus รูปพระจันทร์เสี้ยว, chromatin granule ละเอียด - Type In : คล้าย A0-A3 แต่ chromatin granule จะหยาบ - Type B : มีการปรับเปลี่ยนรูปทรงของ nucleus ให้กลมและเล็กลง - 1o spermatocyte : chromosome 2n, เริ่มเคลื่อนออกจาก basement membrane, เริ่มแบ่งเซลล์แบบ miosis - 2o spermatocyte : chromosome 1n และเริ่มเปลี่ยนแปลงรูปทรงเป็น spermatid

9 (Axoneme or Fagella)

10 Spermiogenesis เป็นการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของ Spermatid 4 ระยะ (phase)
1. Golgi phase : acrosomal granule ภายใน Golgi apparatus รวมตัวกัน แล้วเคลื่อนเข้าชิดส่วนหน้าของ nucleus ในขณะเดียวกัน centrioles 2 อัน ที่อยู่ทิศตรงข้ามกับ acrosomal granule เริ่มเคลื่อนเข้าชิด nucleus เพื่อสร้างส่วนหาง (flagellum) 2. Cap phase acrosomal granule กระจายตัวปกคลุมผิว spermatid 1/2-2/3 ของ nucleus distal centriole เริ่มยืดตัวและสร้าง axoneme

11 Golgi phase

12 Flagella Cap phase

13 นิวเคลียสยืดตัวยาวและแบนมากขึ้น
3. Acrosomal phase นิวเคลียสยืดตัวยาวและแบนมากขึ้น Spermatid หมุนตัวเพื่อให้ส่วน acrosome ไปชิดด้านผนังของท่อ seminiferous tubule และให้ส่วนหาง หันออกสู่ lumen Cap หรือ acrosome ปรับรูปร่างให้พอดีกับนิวเคลียส ซึ่งมี Sertoli cell เป็นแม่พิมพ์ Cytoplasm----> manchette Chromatoid body > annulus mitochondria เริ่มเปลี่ยนรูปร่างเป็น sheath ล้อมรอบ axoneme ที่บริเวณ middle piece ของส่วนหางอสุจิ

14 coarse fiber 9 อัน รอบ axoneme จาก neck ถึงสิ้นสุดส่วน principal piece
4. Maturation phase รูปร่างของ nucleus & acrosome แตกต่างกันตามชนิดสัตว์ nucleus ถูกล้อมรอบด้วย nuclear membrane, internal acrosomal membrane, acrosome body, external acrosomal membrane และ plasma membrane หรือ cytoplasmic membrane coarse fiber 9 อัน รอบ axoneme จาก neck ถึงสิ้นสุดส่วน principal piece annulus เคลื่อนต่ำลงไปอยู่จุดเชื่อมระหว่าง middle & principal piece mitochondria จับตัวกันแน่นขึ้น

15 Maturation phase

16 Maturation phase ต่อเนื่องกับ Spermiation

17

18

19

20

21 Cycle of the seminiferous epitherium (cross section)
Spermiation ปลดปล่อยตัวอสุจิออกจาก Sertoli cells ภายใต้ อิทธิพลของ FSH Cycle of the seminiferous epitherium (cross section) Spermatogenic wave or wave of the seminiferous epithelium (ตามยาวของท่อ) Blood-testis barrier (Myoid layer & Sertoli cell junction)

22

23 Spermatogenic wave


ดาวน์โหลด ppt ขบวนการสร้างตัวอสุจิ (Spermatogenesis)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google