ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การเก็บเอกสารประกันคุณภาพการศึกษา
น.ท.หญิง สิริรัตน์ เนียมอินทร์ ร.น. หน.แผนกพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน กมศ.บก.สปท.
2
เรื่อง การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน
3
เรื่อง การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
4
การทำนุบำรุงศิลปและวัฒนธรรม
ปริญญาตรีขึ้นไป (๓ ตบช.) ม.๔ การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีทางทหาร ๔.๑ ผลสำเร็จในการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณีทหาร ๔.๒ การส่งสริมและสนับสนุนศิลปะและวัฒนธรรม (สมศ.ตัวบ่งชี้ที่ ๑๐) ๔.๓ การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม (สมศ.ตัวบ่งชี้ที่ ๑๑) ขั้นพื้นฐาน (๑ ตบช.) ๑.๒ ผู้เรียนมีสุนทรียภาพ (สมศ.๑/๑.๒) ๑.๒.๑ ร้อยละของผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะฯ ๑.๒.๒ การบวนการเชิงนโยบายการส่งสริมและสนับสนุของผู้บริหาร และผลงาน ของผู้เรียน
5
การทำนุบำรุงศิลปและวัฒนธรรม
การเก็บเอกสาร/ข้อมูล : ๑. โครงการ/กิจกรรมทั้งหมด ๒. โครงการ/กิจกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ สืบสาน เผยแพร่ ส่งเสริมการ ทำนุบำรุงเอกลักษณ์ ศิลปวัฒนธรรมไทย ประวัติศาสตร์ไทย ภูมิปัญญาไทย และขนบธรรมเนียมประเพณีทางทหาร เช่น ๑) โครงการประกวดมารยาทไทย ๒) โครงการ สมุนไพร : ภูมิปัญญาไทย ๓) โครงการพยุหยาตราทางชลมารค ๔) โครงการออกแบบชุดผ้าไทย ๔) โครงการ/กิจกรรมในวันสำคัญทางประเพณี หรือศาสนา เช่น สงกรานต์ ลอยกระทง วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอาสาฬบูชา วันเข้า/ออกพรรษา เป็นต้น ** โครงการ ควรมีการระบุ ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ ด้วย เพิ่อใช้ในการประเมินความสำเร็จของโครงการ ** ๓. รายชื่อนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม (แนบท้ายหนังสือขออนุมัติโครงการ)
6
การทำนุบำรุงศิลปและวัฒนธรรม
การเก็บเอกสาร/ข้อมูล : ๔. แผนงานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม **ควรมีการระบุ ตัวชี้วัดความสำเร็จของแผนงาน ด้วย เพิ่อใช้ในการประเมินความสำเร็จของแผนงาน** ๕. รายงานการประชุมการจัดโครงการ/กิจกรรมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมฯ มีการมอบหมายผู้รับผิดชอบ กำหนดห้วงเวลา สถานที่ ขั้นตอนการปฏบัติ เป็นต้น ๖. รูปถ่ายการปฏิบัติงานตามโครงการ/กิจกรรมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมฯ ๗. รายงานสรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ/กิจกรรมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมฯ ๘. รายงานการเกิดผลกระทบที่เกิดประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อชุมชน หรือการนำไปบุรณาการกับพันธกิจอื่น อาจเขียนอธิบายไว้ในรายงานสรุปผลฯ รวมทั้งหากมีการเผยแพร่โดยการตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ ถ่ายทอดสดทางโทรทัศน์ ต้องเก็บหลักฐานหนังสือพิมพ์ และวิดิโอไว้ด้วยด้วย ๙. รายงานสรุปผลการประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม ๑๐. รายงาน รางวัลที่ได้รับการประกาศเกียรติคุณ ยกย่อง จากหน่วยงานในระดับกรมขึ้นไป
7
ปัญหาที่พบ ไม่แน่ใจว่าเป็นโครงการ/กิจกรรม ทำนุบำรงศิลปวัฒนธรรมหรือไม่ ให้ดูที่ วัตถุประสงค์ และ วิธีดำเนินการ ของโครงการ/กิจกรรม ว่าส่วนใหญ่สื่อไปในแนวทางใด ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม หรือ บริการวิชาการ ๒. นับเป็นโครงการ หรือกิจกรรม ดี ให้ดูที่ วัตถุประสงค์ และ วิธีดำเนินการ ของโครงการ/กิจกรรม ว่ามุ่งเน้นเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือหลายเรื่อง หากเป็นเรื่องเดียวกันทั้งโครงการ/กิจกรรม ก็นับเป็น ๑ แต่หากเป็นโครงการใหญ่ประกอบด้วยกิจกรรมหลายเรื่อง แต่ละเรื่องค่อนข้างแยกกันอย่างชัดเจน ให้นับเป็นรายกิจกรรม ทั้งนี้การนับตัวตั้งและตัวหารในการคำนวณต้องนับให้เหมือนกัน ๓. นับซ้ำกับเป็นโครงการ/กิจกรรมด้านอื่นได้หรือไม่ เช่นการบริการวิชาการ ไม่ควรนับซ้ำ แต่หากมีความจำเป็นต้องนับซ้ำ เช่นนับกิจกรรมหนึ่งในโครงการ ก็ให้นับเหมือนกันทั้งตัวตั้งและตัวหาร
8
เรื่อง การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน
9
การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน
ปริญญาตรีขึ้นไป ม.๕ การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน (๑๐ ตัวบ่งชี้) ปริญญาต่ำกว่าปริญญาตรี ม.๔ การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน (๖ ตัวบ่งชี้) ขั้นพื้นฐาน ทางทหารระดับสูง ม.๔ การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน (๘ ตัวบ่งชี้) 1.การบริหารจัดการ 2.สารสนเทศ 3.การจัดการความรู้ 4.การบริหารความเสี่ยง 5.งบประมาณ 6.การพัฒนาอาจารย์ 7.อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ของสถาบัน
10
การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน
ปริญญาตรีขึ้นไป (๑๐ ตบช.) ม.๕ การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน ๕.๑ สถาบันมีการกำหนดแผนในการบริหารจัดการสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของกองทัพในแต่ละเหล่าทัพและนโยบายด้านการศึกษาของกระทรวงกลาโหม ๕.๒ การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของสภาการศึกษาของสถาบันหรือคณะกรรมการของสถาบัน ๕.๓ การปฏิบัติหน้าที่ตามบทบาทของผู้บริหารสถาบัน (สมศ.ตัวบ่งชี้ที่ ๑๓) ๕.๔ ศักยภาพของระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการการเรียนการสอนและการวิจัย ๕.๕ สถาบันมีการบริหารจัดการความรู้อย่างเป็นระบบเพื่อพัฒนาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้
11
การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน
ปริญญาตรีขึ้นไป (๑๐ ตบช.) ม.๕ การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน ๕.๖ ระบบและกลไกในการจัดสรร การวิเคราะห์ค่าใช้จ่าย การตรวจสอบการเงินและงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ ๕.๗ ศักยภาพด้านการเงินและงบประมาณ ๕.๘ การพัฒนาคณาจารย์ (สมศ.ตัวบ่งชี้ที่ ๑๔) ๕.๙ ผลการพัฒนาตามอัตลักษณ์ของสถาบัน (สมศ.ตัวบ่งชี้ที่ ๑๖) ๕.๙.๑ ผลการบริหารสถาบันให้เกิดอัตลักษณ์ ๕.๙.๒ ผลการพัฒนาบัณฑิตตามอัตลักษณ์ ๕.๑๐ ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถาบัน (สมศ.ตัวบ่งชี้ที่ ๑๗)
12
การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน
ต่ำกว่าปริญญาตรี (๖ ตบช.) ม.๔ การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน ๔.๑ สถาบันมีการกำหนดแผนในการบริหารจัดการสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ของกองทัพในแต่ละเหล่าทัพและนโยบายด้านการศึกษาของกระทรวงกลาโหม ๔.๒ การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการสถาบันการศึกษาและหรือผู้บริหารสถานศึกษา ๔.๓ ร้อยละของครู อาจารย์ประจำ อาจารย์วิชาทหารและนายทหารปกครอง ที่ได้รับการพัฒนาในด้านวิชาชีพ/ด้านการจัดการเรียนการสอน/ด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ/ด้านเทคโนโลยีการผลิตสื่อการเรียนการสอน หรือด้าน การบริหารจัดการ ต่อครูอาจารย์ประจำ อาจารย์วิชาทหารและนายทหารปกครองทั้งหมด ๔.๔ ศักยภาพของระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ การเรียนการสอน การสร้างองค์ความรู้
13
การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน
ต่ำกว่าปริญญาตรี (๖ ตบช.) ม.๔ การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน ๔.๕ ร้อยละของครู อาจารย์ประจำ/วิชาทหาร นายทหารปกครอง และบุคลากร ที่ได้รับการพัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรมในแต่ละปี ต่อครู อาจารย์ประจำ ครู อาจารย์วิชาทหาร นายทหารปกครองและบุคลากรทั้งหมด ๔.๖ ศักยภาพด้านการเงินและงบประมาณ (๑) ร้อยละของเงินเหลือจ่ายสุทธิต่องบประมาณที่ได้รับการจัดสรร (๒) ร้อยละของงบประมาณสื่อ/โสตทัศนูปกรณ์ อุปกรณ์การฝึก/เครื่องช่วยฝึกนวัตกรรมและการสร้างองค์ความรู้ ระบบห้องสมุด ระบบสารสนเทศต่องบดำเนินการจัดการศึกษา (๓) ร้อยละของงบประมาณสำหรับวัสดุฝึกสำหรับการปฏิบัติต่องบดำเนินการจัดการศึกษา
14
การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน
ขั้นพื้นฐาน (๖ ตบช.) ม.๔ การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน ๔.๑ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการตามบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษา (สมศ. ๗/ข้อ๑) ๔.๒ ประสิทธิภาพของคณะกรรมการศึกษาโรงเรียนเตรียมทหาร (สมศ.ตัวบ่งชี้ที่ ๗/ข้อ๒) ๔.๓ การพัฒนาบรรยากาศและสภาพแวดล้อม (สมศ.ตัวบ่งชี้ที่ ๗/ข้อ๓) ๔.๔ ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา (สมศ.ตัวบ่งชี้ที่ ๑๒)
15
การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน
ขั้นพื้นฐาน (๖ ตบช.) ม.๔ การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน ๔.๕ ผลการพัฒนาให้บรรลุเป้าหมายตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา (สมศ.ตัวบ่งชี้ที่ ๙) ๔.๖ ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา (สมศ.ตัวบ่งชี้ที่ ๑๐)
16
การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน
ทางทหารระดับสูง (๘ ตบช.) ม.๔ การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน ๔.๑ แผนการบริหารจัดการสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของ บก.ทท. นโยบายด้านการศึกษา กห. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ๔.๒ องค์กรที่มีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ ๔.๓ ร้อยละของความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการบริหารและการจัดการศึกษาอบรมของสถาบัน ๔.๔ ศักยภาพระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการการเรียนการสอน และการวิจัย
17
การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน
ทางทหารระดับสูง (๘ ตบช.) ม.๔ การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน ๔.๕ การพัฒนาสถาบันสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ ๔.๖ ประสิทธิภาพในการบริหารการเงินและงบประมาณ ๔.๗ ศักยภาพด้านการเงินและงบประมาณ ๔.๘ ประสิทธิภาพในการบริหารความเสี่ยง
18
การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน
การเก็บเอกสาร/ข้อมูล : การบริหารจัดการ ๑. แผนแม่บท แผนปฏิบัติราชการ แผนยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา แผนปฏิบัติงานประจำปี ที่มีการระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของแผนงาน ๒. แผนงาน โครงการ/กิจกรรม ที่สอดคล้องกับแผนในข้อ ๑ และมีการระบุ ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ ๓. ปรัชญา ปณิธาน ภารกิจ วัตถุประสงค์ นโยบาย ของสถาบัน ซึ่งอาจกำหนดไว้ในแผนในข้อ ๑ หรือเอกสารอื่นๆ ๔. ยุทธศาสตร์ด้านการศึกษา นโยบายด้านการศึกษาของเหล่าทัพ ทท. และ กห. ๕. คำสั่งแต่งตั้งสภาสาบัน คณะกรรมการสถาบัน พร้อมอำนาหน้าที่
19
การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน
การเก็บเอกสาร/ข้อมูล : การบริหารจัดการ ๖. รายงานการประชุมของสภาสถาบันหรือคณะกรรมการสถาบันที่มีการทบทวนมติ นโยบาย หรือติดตามการดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการ ในข้อ ๑ และ ๒ ๗. รายงานการประชุมที่แสดงการมีส่วนร่วมของกำลังพลในการพัฒนา/กำหนดทิศทางของสถาบัน ๘. รายงานสรุปผลการดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการทั้งหมดของสถาบัน ๙. สรุปผลการประเมินผู้บริหารตามหลักธรรมภิบาล ๑๐. รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการในวงรอบ ๖ , ๙, ๑๒ เดือน
20
การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน
การเก็บเอกสาร/ข้อมูล : สารสนเทศ ๑๑. แผนงานด้านสารสนเทศของสถาบัน ๑๒. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงานด้านสารสนเทศ ๑๓. รายงานการประชุมของคณะกรรม/คณะทำงานสารสนเทศ ซึ่งระบุการติดตามการดำเนินงาน และการปรับปรุงฐานข้อมูล ๑๔. รายงานสรุปผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ฐานข้อมูล ๑๕. แผนผัง โครงสร้าง การเชื่อมโยงฐานข้อมูลต่าง ๆ ของสถาบัน ๑๖. เอกสารแสดงการกำหนดชั้น/ระดับ ความปลอดภัยในการใช้ฐานข้อมูล
21
การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน
การเก็บเอกสาร/ข้อมูล : การจัดการความรู้ ๑๖. แผนการจัดการความรู้ของสถาบัน ๑๗. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงานด้านการจัดการความรู้ ๑๘. รายงานการประชุมของคณะกรรม/คณะทำงานการจัดการความรู้ ซึ่งระบุการติดตามการดำเนินงาน ๑๙. รายงานสรุปผลการจัดการความรู้ ๒๐. เอกสารการนำผลการจัดการความรู้มาใช้ประโยชน์ พัฒนากระบวนการจัดการความรู้
22
การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน
การเก็บเอกสาร/ข้อมูล : การบริหารความเสี่ยง ๒๑. แผนการบริหารความเสียง ๒๒. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงานด้านการบริหารความเสี่ยง ๒๓. รายงานการประชุมของคณะกรรม/คณะทำงานการบริหารความเสี่ยง ซึ่งระบุ การติดตามการดำเนินงาน ๒๔. รายงานสรุปผลการบริหารความเสื่ยง ๒๕. คู่มือการปฏิบัติงานต่าง ๆ ๒๖. รายงานสรุปผลการประเมินการปฏิบัติงานตามคู่มือในข้อ ๒๕ ๒๗. เอกสารการนำผลการประเมินมาปรับปรุงการปฏิบัติงาน บัติงาน
23
การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน
การเก็บเอกสาร/ข้อมูล : งบประมาณ ๒๘. คำของบประมาณประจำปี ๒๙. แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี ๓๐. รายงานการสรุปผลการจัดสรรงบประมาณประจำปี ๓๑. เอกสารการใช้จ่ายงบประมาณด้านต่าง ๆ เช่น การจัดการเรียนการสอน สื่อ/โสตทัศนูปกรณ์ อุปกรณ์การฝึก เครื่องช่วยฝึก นวัตกรรม/การสร้างองค์ความรู้ ห้องสมุด สารสนเทศ วัสดุฝึกปฏิบัติ เป็นต้น
24
การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน
การเก็บเอกสาร/ข้อมูล : การพัฒนาอาจารย์ ๓๒. รายชื่อครู อาจารย์ทั้งหมด จำแนกเป็นครู/อาจารย์ประจำ และครูทหาร/นายทหารปกครอง บุคลากรสายสนับสนุน ๓๓. เอกสารแสดงการเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม เพื่อพัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรม หรือด้านวิชาการอื่น ๆ ทั้งในและนอกหน่วย ๓๔. เอกสารแสดงคุณวุฒิ/ตำแหน่งทางวิชาการ
25
การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน
การเก็บเอกสาร/ข้อมูล : อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ของสถาบัน ๓๕. เอกสารแสดงการกำหนดอกลักษณ์ จุดเน้น จุดเด่นของสถาบัน โดย สภาสถาบัน หรือคณะกรรมการสถาบัน ๓๖. แผนยุทธศาสตร์ หรือแผนงานอื่นๆ รวมทั้งโครงการที่มุ่งเน้นการพัฒนาสถาบันไปสู่เอกลักษณ์ที่กำหนด และอัตลักษณ์ของบํณฑิตกำหนด ๓๗. เอกสารแสดงการมีส่วนร่วมของผู้เรียนและบุคลากร ในการปฏิบัติงานตามแผนงาน โครงการ ในข้อ ๓๗ รวมทั้งรูปถ่าย ๓๘. รายงานสรุปผลการประเมินความคิดเห็นของบุคลากรเกี่ยวกับการดำเนินงานตามเอกลักษณ์ของสถาบัน และอัตลักษณ์ของบัณฑิต
26
การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน
การเก็บเอกสาร/ข้อมูล : อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ของสถาบัน ๓๙. รายงานสรุปผลการดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการที่มุ่งเน้นการพัฒนาเอกลักษณ์ของสถาบัน และอัตลักษณ์ของบัณฑิตที่กำหนด ๔๐. รายงานการเกิดผลกระทบที่เกิดประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อชุมชน อาจเขียนอธิบายไว้ในรายงานสรุปผลฯ รวมทั้งหากมีการเผยแพร่โดยการตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ ถ่ายทอดสดทางโทรทัศน์ ต้องเก็บหลักฐานหนังสือพิมพ์ และวิดิโอไว้ด้วยด้วย ๔๑. รายงาน รางวัลที่ได้รับการประกาศเกียรติคุณ ยกย่อง จากหน่วยงานในระดับกรมขึ้นไป
27
ปัญหาที่พบ แผนงาน/โครงการ ไม่มีการระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของแผนงาน/โครงการ จึงไม่สามารถประเมินได้ว่าผลการดำเนินงานบรรลุเท่าไร ๒. รายงานการประชุมติดตามการดำเนินงานตามแผนฯ ของสภาสถาบัน/คณะกรรมการสถาบัน มักไม่ค่อยพบ ๓. การจัดทำฐานข้อมูลมักอยู่ในรูปเอกสาร หรือ word file หรือ excel file ซึ่งไม่สามารถปะมวลผล เชื่อมโยงกันได้ ทำให้ผู้บริหารไม่สามารถใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจได้อย่างครบถ้วน ทันเวลา ควรจัดทำฐานข้อมูลด้วย excel file หรือ Access file โดยเฉพาะฐานข้อมูลที่สำคัญ เช่น ฐานข้อมูลกำลังพล งบประมาณ งานวิจัย/นวัตกรรม การประกันคุณภาพการศึกษา เป็นต้น ๔. มักไม่พบเอกสาร/หลักฐานแสดงการนำผลการประเมินไปปรับปรุง พัฒนา
28
สิ่งที่ควรปฏิบัติ รวบรวมเอกสารทุกอย่างของการดำเนินตามโครงการ/กิจกรรม ตั้งแต่โครงการ/กิจกรรม หนังสือขออนุมัติโครงการ/กิจกรรม รายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการ รายงานการประชุม รูปถ่าย สรุปผลการประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม และรายงานสรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ/กิจกรรม และเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ไว้เป็นเล่มเดียวกัน ๒. ในการเก็บรวบรวมเอกสาร ให้เก็บให้ครบตามวงจรคุณภาพ PDCA เสมอ ๓. ควรจัดทำแฟ้มรวบรวมเอกสารไว้ตั้งแต่เริ่มปฏิบัติงาน และเก็บรวบรวมเอกสารอย่างต่อเนื่อง ไม่ผลัดวันประกันพรุ่ง ซึ่งจะทำให้เก็บเอกสารได้ไม่ครบ และเอกสารหาย ๔. จัดระบบในการเก็บเอกสาร แยกตามมาตรฐาน และตัวบ่งชี้ ๕. ควรมีการจัดเก็บเอกสารในรูปแบบ Electronic files หรือมีการจัดทำเป็นฐานข้อมูล ซึ่งจะช่วยให้ข้อมูลต่าง ๆ นำมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดได้มากกว่า
29
ตอบคำถาม
30
เก็ยเอกสาร งานหลัก (ยักษ์) ...ของเจ้าหน้าที่ประกัน
มีเม็ดทราย นับไม่ถ้วน จำนวนทราย คนทั้งหลาย นับไม่ถ้วน ในคุณค่า ทรายจะแกร่ง ก็เพราะผ่าน กาลเวลา คนจะกล้า ก็เพราะผ่าน ความอดทน... ขอเป็นอีก หนึ่งแรงใจ ให้คนสู้ ให้เธอรู้ ว่าเธอ...ยังมีหวัง ขอส่งแรงใจ ให้เธอ มีแรงพลัง ไปยังฝั่งฝัน ที่เธอวาดหวัง และตั้งใจ...
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.