งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดนครนายก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดนครนายก"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดนครนายก
วัยรุ่นและเยาวชนมีความรู้ มีทักษะและพฤติกรรม อนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม มีบุคลิกภาพเป็นผู้นำ มีคุณธรรมและจริยธรรม มีความรับผิดชอบและมีส่วนร่วม ในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว และสังคม

2 ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดนครนายก
ภายใน ๔ ปี (๒๕๔๔-๒๕๕๗) ระดับประชาชน (วัยรุ่น) -วัยรุ่นมีความรู้ ทักษะและพฤติกรรมในการดูแลตนเองที่ถูกต้องและเหมาะสมด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ -ครอบครัวมีความรู้ ความเข้าใจปัญหาของวัยรุ่นและให้การดูแลอย่างใกล้ชิด -ชุมชนตระหนักถึงปัญหาวัยรุ่นและส่งเสริมกิจกรรมในการพัฒนาวัยรุ่นรวมทั้งมีแผนงาน/โครงการ/งบประมาณสนับสนุน ระดับภาคี -สธ. จัดบริการและให้คำแนะนำ -สถานศึกษา มีการจัดการสอนเพศศึกษารอบด้าน -พม.จ. พัฒนาครอบครัว -อปท. มีการสนับสนุนงบประมาณอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง -สถานประกอบการ ให้ความรู้ด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ -ภาคประชาสังคม ให้ความรู้ด้านจริยธรรมและคุณธรรม -สภาเด็กและเยาวชน จัดกิจกรรมให้มีการเรียนรู้ เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น -วัฒนธรรม มีการกำกับและตรวจสอบเกี่ยวกับสื่อ สถานบันเทิงและร้านเกมส์ -ภาคเอกชนสนับสนุนงบประมาณ ระดับกระบวนการ -มีการจัดการเครือข่ายที่เข้มแข็งแบบบูรณาการ -มีการติดตามประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ -มีการพัฒนาทีมปฏิบัติงานสหวิชาชีพ -มีการประสานงานที่มีประสิทธิภาพ -มีการจัดการสื่อสารประชาสัมพันธ์อย่างครอบคลุม ระดับพื้นฐาน -ทีมสหวิชาชีพมีความรู้และทำงานเป็นทีม -มีศูนย์ข้อมูลสารสนเทศครบถ้วน ทันสมัยและเข้าถึง ได้ง่าย -ส่งเสริมและพัฒนาแนวคิด/ทัศนคติด้านบวก -สร้างแรงจูงใจ

3 แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดนครนายก
ภายใน ๔ ปี (๒๕๔๔-๒๕๕๗) (SRM) ภายในปี พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๕๗ วัยรุ่นและเยาวชนมีความรู้ มีทักษะและพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม มีบุคลิกภาพเป็นผู้นำ มีคุณธรรมและจริยธรรม มีความรับผิดชอบและมีส่วนร่วมในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว และสังคม วัยรุ่นมีความรู้ทักษะและพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ *ส่งเสริมกิจกรรมด้านความรู้และทักษะด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ *ส่งเสริมทักษะการป้องกันการตั้งครรภ์อย่างถูกต้อง *สร้างความตระหนักในคุณค่าของตนเอง ครอบครัวอบอุ่นและมีศักยภาพในการดูแลวัยรุ่น *ส่งเสริมกิจกรรมด้านความรู้และทักษะด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ *ส่งเสริมครอบครัวให้คำปรึกษาเกี่ยวกับปัญหาของวัยรุ่น *สร้างเครือข่ายครอบครัวต้นแบบ ชุมชนมีแผนงาน/โครงการ *สนับสนุนการจัดทำแผนงาน/โครงการพัฒนาด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ *สร้างความตระหนักถึงปัญหาวัยรุ่นและส่งเสริมกิจกรรมในการพัฒนาวัยรุ่น *ส่งเสริมกิจกรรมและจัดพื้นที่สร้างสรรค์สำหรับเยาวชน ระดับประชาชน (Valuation) วัฒนธรรมสนับสนุนการดำรงชีวิตแบบวิถีไท *ส่งเสริมภูมิปัญญา *จัดระเบียบสังคม *อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย *ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม พม.จ.สนับสนุนและสร้างบทบาทเยาวชน *สนับสนุนให้เกิดโครงการเยาวชน *สร้างศูนย์ประสานเครือข่ายให้เข้มแข็ง/ยั่งยืน *สร้างรูปแบบการติดตาม/แก้ไข อย่างมีส่วนร่วม หน่วยงานสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ *เร่งรัดกระบวนการเรียนรู้เรื่องเพศศึกษาอย่างรอบด้าน *ขยายโรงเรียนต้นแบบ *พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน หน่วยงานสังกัด กระทรวงสาธารณสุข *ส่งเสริมการให้บริการเป็นมิตรกับวัยรุ่นและเยาวชน *สนับสนุนวิชาการแก่ภาคี *สร้างความเข้มแข็งและขยายภาคีเครือข่าย อปท.สนับสนุนงบประมาณอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง *ผลักดันเข้าแผนของท้องถิ่น *สนับสนุนให้มีแผนงาน/โครงการ เยาวชน *ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร (Stakeholder) ระดับภาคี มีระบบติดตามและประเมินผล *พัฒนาระบบติดตามและประเมินผล *พัฒนาระบบจัดทำข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา *พัฒนาศูนย์ข้อมูล มีระบบบริหารภาคีและเครือข่าย ที่มีประสิทธิภาพ *สร้างการมีส่วนร่วม *สร้างหน่วยงานเจ้าภาพหลัก *พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย มีระบบการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ *ส่งเสริมด้านการประชาสัมพันธ์ให้ทั่วถึงและเข้าถึงง่าย *พัฒนาช่องทางการสื่อสารให้มีความหลากหลาย *พัฒนาสื่อสาธารณะ มีนวัตกรรมและองค์ความรู้ *ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการจัดการความรู้ *ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม *ส่งเสริมการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ระดับกระบวนการ มีระบบฐานข้อมูลสารสนเทศครบถ้วนและทันสมัย *พัฒนาฐานข้อมูลอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นและเยาวชนให้ครบถ้วนและทันสมัย *สร้างช่องทางการเข้าถึงข้อมูลให้ง่ายและครอบคลุม *พัฒนาบุคลากร บุคลากรมีทักษะและสมรรถนะที่ทันสมัย *พัฒนาศักยภาพบุคลากร *สร้างเครือข่ายด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ทุกระดับ *สร้างแรงจูงใจ มีวัฒนธรรมองค์กร *สร้างและส่งเสริมแนวคิด ทัศนคติ เชิงบวกเรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ *พัฒนาการทำงานเป็นทีม *ส่งเสริมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ระดับ พื้นฐาน 3 3

4 ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) การพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์จังหวัดนครนายก ภายในปี 2554 (ระยะ 2 ปี) วัยรุ่นมีความรู้ทักษะและพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ *ส่งเสริมกิจกรรมด้านความรู้และทักษะด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ ครอบครัวอบอุ่นและมีศักยภาพในการดูแลวัยรุ่น *ส่งเสริมกิจกรรมด้านความรู้และทักษะด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ ชุมชนมีแผนงาน/โครงการ *สนับสนุนการจัดทำแผนงาน/โครงการพัฒนาด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ ประชาชน อปท.สนับสนุนงบประมาณ อย่างเพียงพอและต่อเนื่อง *ผลักดันเข้าแผนของท้องถิ่น วัฒนธรรมสนับสนุนการดำรงชีวิตแบบวิถีไท *ส่งเสริมภูมิปัญญา หน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุข *ส่งเสริมการให้บริการเป็นมิตรกับวัยรุ่นและเยาวชน พม.จ.สนับสนุนและสร้างบทบาทเยาวชน *สนับสนุนให้เกิดโครงการเยาวชน ภาคี หน่วยงานสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ *เร่งรัดกระบวนการเรียนรู้เรื่องเพศศึกษาอย่างรอบด้าน มีระบบติดตามและประเมินผล *พัฒนาระบบติดตามและประเมินผล มีระบบการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ *ส่งเสริมด้านการประชาสัมพันธ์ให้ทั่วถึงและเข้าถึงง่าย มีระบบบริหารภาคีและเครือข่าย ที่มีประสิทธิภาพ *สร้างการมีส่วนร่วม กระบวนการ มีนวัตกรรมและองค์ความรู้ *ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการจัดการความรู้ มีวัฒนธรรมองค์กร *สร้างและส่งเสริมแนวคิด ทัศนคติ เชิงบวกเรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ มีระบบฐานข้อมูลสารสนเทศครบถ้วนและทันสมัย *พัฒนาฐานข้อมูลอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นและเยาวชนให้ครบถ้วนและทันสมัย พื้นฐาน บุคลากรมีทักษะและสมรรถนะที่ทันสมัย *พัฒนาศักยภาพบุคลากร 4 4

5 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับประชาชน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 1.วัยรุ่นมีความรู้ทักษะ และพฤติกรรมที่ ถูกต้องเหมาะสมด้าน อนามัยการเจริญพันธุ์ 1.ส่งเสริมกิจกรรม ด้านความรู้และ ทักษะด้านอนามัย การเจริญพันธุ์ 1.อบรมวัยรุ่นใน สถานศึกษาทั้งใน ระบบและนอกระบบ 2.จัดค่ายเยาวชนเพื่อ กระตุ้นส่งเสริมและ สร้างความตระหนัก ด้านการป้องกันการ ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 3.รณรงค์การป้องกัน การมีเพศสัมพันธ์ก่อน วัยอันควร - อัตราการตั้งครรภ์ใน วัยรุ่นลดลง - หน่วยงานในสังกัด กระทรวงศึกษาธิการ - อปท. - หน่วยงานใน สังกัดกระทรวง สาธารณสุข - พม.จ. - พัฒนาชุมชน 5

6 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับประชาชน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 2.ครอบครัวอบอุ่นและ มีศักยภาพในการดูแล วัยรุ่น ส่งเสริมกิจกรรม ด้านความรู้และ ทักษะด้านอนามัย การเจริญพันธุ์ 1.จัดกิจกรรมจูงลูกจูง เข้าวัด 2.ประชาสัมพันธ์/รับ สมัคร 3.จัดอบรม 4.สร้างเครือข่าย ครอบครัวอบอุ่นโดย ใช้เกณฑ์ครอบครัว ร่มเย็น 5.ดำเนินการจัด กิจกรรม/การติดตาม/ ประเมินผล/รายงาน - มีเครือข่ายครอบคลุม ทุกตำบล - พม.จ. - อปท. - หน่วยงานใน สังกัดกระทรวง สาธารณสุข - วัฒนธรรม จังหวัด 6

7 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับประชาชน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงานรับผิดชอบ หลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 3.ชุมชนมีแผนงาน/ โครงการ สนับสนุนการจัดทำ แผนงาน/โครงการ พัฒนาด้านอนามัย การเจริญพันธุ์ - จัดเวทีประชาคม เพื่อจัดทำแผนงาน/ โครงการด้านอนามัย เจริญพันธุ์ - เสนอแผนงานต่อ อปท.เพื่อสนับสนุน งบประมาณ ดำเนินการ - จัดกิจกรรมเชิง สร้างสรรค์ในพื้นที่ เช่น กีฬา ดนตรี - จัดรณรงค์ปลูก จิตสำนึก การป้องกัน การมีเพศสัมพันธ์และ ตั้งครรภ์ก่อนวัย อันควร - จัดพื้นที่เพื่อทำ กิจกรรมเชิง สร้างสรรค์ - มีแผนงาน/โครงการ ด้านการอนามัยการ เจริญพันธุ์ในวัยรุ่นทุก ท้องถิ่น - อปท. - พม.จ. - สาธารณสุข - มหาดไทย - พัฒนาชุมชน - ประชาสังคม - กศน. 7

8 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับภาคี วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 1. วัฒนธรรมสนับสนุน การดำเนินชีวิตแบบ วิถีไท ส่งเสริมภูมิปัญญา 1. โรงเรียนจัด กิจกรรมถือศีลปฏิบัติ ธรรมในวันสำคัญทาง ศาสนา 2. ประกวดเยาวชน ต้นแบบด้านอนุรักษ์ วัฒนธรรมไทยและ คัดเลือกเยาวชนมี วินัยสนใจใฝ่เรียน 4. จัดระเบียบสังคม 5. บังคับใช้มาตรการ ละเมิดสิทธิเด็ก 6. ควบคุม กำกับร้าน เกมส์ สถานบริการ ร้านค้าที่จำหน่ายสุรา/ บุหรี่ - ทุกอำเภอต้องมีเยาวชน ต้นแบบด้านอนุรักษ์ วัฒนธรรมไทยอย่างน้อย 1 คน - สถานศึกษา - วัฒนธรรมจังหวัด - ตำรวจ - ปกครองจังหวัด - สภาวัฒนธรรม จังหวัด - สภาวัฒนธรรม อำเภอ/ตำบล - สนง. พระพุทธศาสนา - วัด - อัยการ 8

9 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับภาคี วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 2. พม.จ. สนับสนุน และสร้างบทบาท เยาวชน สนับสนุนให้เกิด โครงการเยาวชน 1. จัดกิจกรรมพื้นที่ สร้างสรรค์สำหรับเด็ก และเยาวชน 2. กิจกรรมคาราวาน เสริมสร้างเด็ก 3. สนับสนุนกิจกรรม สภาเด็กและเยาวชน 4. จัดสรรงบประมาณ สนับสนุนโครงการ ของเยาวชน - ทุกตำบลมีพื้นที่และ กิจกรรมสำหรับเด็กและ เยาวชน - สภาเด็กและเยาวชนมี การดำเนินงานต่อเนื่อง มีแผนงาน/โครงการ เกี่ยวกับเยาวชน - อปท. - สนง.พม.จ. 9

10 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับภาคี วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 3. หน่วยงานสังกัด กระทรวงศึกษาธิการ สถานศึกษาทุกระดับมี มีกระบวนการเรียนการ สอนเพศศึกษารอบ ด้านอย่างมี ประสิทธิภาพ เร่งรัดกระบวนการ เรียนรู้เพศศึกษา อย่างต่อเนื่อง 1. สร้างกลยุทธ์การ เรียนการสอนเรื่อง เพศอย่างรอบด้าน (พัฒนาสื่อ/หลักสูตร) 2. ขยายโรงเรียน ต้นแบบ(สร้างนิยาม ครอบคลุมโรงเรียน มัธยมทุกแห่ง) 3. พัฒนาศักยภาพครู และบุคลากร 4. บูรณาการเรื่อง เพศศึกษาเข้าไปใน กิจกรรมการเรียน การสอน - โรงเรียนมัธยม/ อาชีวศึกษา/ขยายโอกาส มีการสอนเพศศึกษา อย่างรอบด้าน 60% - หน่วยงานสังกัด กระทรวงศึกษา ธิการ - หน่วยงาน สังกัดกระทรวง สาธารณสุข

11 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับภาคี วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 4. อปท. สนับสนุน งบประมาณอย่าง เพียงพอและต่อเนื่อง ผลักดันเข้าแผน ของท้องถิ่น 1. ทำประชาคมค้นหา ปัญหา 2. จัดทำแผนงาน/ โครงการ 3. ติดตาม/ ประเมินผล - มีแผนงาน/โครงการ อนามัยการเจริญพันธุ์และ เยาวชนอยู่ในแผน ท้องถิ่น - อปท. - หน่วยงาน สังกัดกระทรวง สาธารณสุข

12 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับภาคี วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 5. หน่วยงานสังกัด กระทรวงสาธารณสุข สนับสนุนสถานบริการ ที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น และเยาวชน ส่งเสริมการ ให้บริการที่เป็นมิตร กับวัยรุ่นและ เยาวชน 1. พัฒนาสถาน บริการที่เป็นมิตรกับ วัยรุ่นและเยาวชน 2. จัดอบรมบุคลากร และแกนนำเยาวชน 3. พัฒนาภาคี เครือข่ายในการส่งต่อ ข้อมูล ข่าวสาร และ การดูแลบริการอย่าง ต่อเนื่องรวมทั้งการ ติดตาม - ทุกโรงพยาบาลมีบริการ ที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นและ เยาวชน - รพ./สสจ. - อปท. - จปร. - มศว. - หน่วยงาน สังกัด กระทรวงศึกษา ธิการ

13 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับกระบวนการ วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 1. มีระบบติดตามและ ประเมินผลที่มี ประสิทธิภาพ พัฒนาระบบและ ติดตามและ ประเมินผล 1. แต่งตั้งคณะทำงาน ติดตามและ ประสิทธิผล 2. มีการประชุมเพื่อ ชี้แจงและกำหนด ตัวชี้วัด 3. จัดทำแผน ปฏิบัติงาน 4. จัดเวทีเพื่อ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 5. สรุปผลการปฏิบัติ และทบทวน กระบวนการติดตาม เพื่อนำมาพัฒนา มีระบบติดตามและ ประเมินผลแบบมีส่วนร่วม ของทุกหน่วยงาน คณะ อนุกรรมการ พัฒนาอนามัยการ เจริญพันธุ์ระดับ จังหวัด ภาคี เครือข่าย สสอ. อปท. หน่วยงาน ศธ. พม. ภาคประชาชน ภาคเอกชน 13

14 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับกระบวนการ วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 2. มีระบบบริหารภาคี เครือข่ายที่มี ประสิทธิภาพ สร้างการมีส่วนร่วม 1. แต่งตั้งคณะทำงาน การพัฒนาอนามัยการ เจริพันธุ์ทุกระดับ 2. ประชุมเชิง ปฏิบัติการ คณะทำงานเพื่อสร้าง ความรู้และความ เข้าใจ 3. จัดทำแผนทางเดิน ยุทธศาสตร์ระหว่าง ภาคีเครือข่าย มีแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์พัฒนา อนามัยการเจริญพันธุ์ใน วัยรุ่นทุกระดับ (จังหวัด/ อำเภอ/ตำบล/หมู่บ้าน) คณะ อนุกรรมการ พัฒนาอนามัยการ เจริญพันธุ์ระดับ จังหวัด ปกครองจังหวัด ท้องถิ่นจังหวัด พม. พช. วัฒนธรรม เหล่ากาชาด 14

15 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับกระบวนการ วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 3. มีระบบการสื่อสารที่ มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมด้านการ ประชาสัมพันธ์ให้ ครอบคลุมและ เข้าถึงง่าย 1. จัดอบรมพัฒนา บุคลากรด้านการ สื่อสาร/ ประชาสัมพันธ์ 2. สนับสนุน งบประมาณและ ทรัพยากรในการ สื่อสารและ ประชาสัมพันธ์ 3. สร้างและพัฒนา ช่องทางการสื่อสาร ให้มีความหลากหลาย และเข้าถึงง่าย เช่น วิทยุชุมชน เคเบิลทีวี สื่อโทรทัศน์ อินเตอร์เน็ต ห้างสรรพสินค้า โรงเรียน ฯลฯ เด็กและเยาวชนมีส่วนร่วม กิจกรรมด้านอนามัยการ เจริญพันธุ์เพิ่มขึ้น คณะอนุกรรมการ พัฒนาอนามัยการ เจริญพันธุ์ระดับ จังหวัด อบจ. อบต. เทศบาล สสจ.

16 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับกระบวนการ วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 4. มีนวัตกรรมและ องค์ความรู้ ส่งเสริมการสร้าง และพัฒนา นวัตกรรม 1. จัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ระหว่างภาคี เครือข่าย และถอด บทเรียน 2. จัดทำคู่มือ/ แนวทางปฏิบัติ 3. ประชาสัมพันธ์การ ใช้คู่มือ/แนวทาง ปฏิบัติให้ถึง กลุ่มเป้าหมาย ทุกจังหวัดมีนวัตกรรม ด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ อย่างน้อยปีละหนึ่งเรื่อง สธ. พม.จ. สำนักงานจังหวัด อปท. หน่วยงาน ศธ. ตร./อัยการ สถานพินิจฯ

17 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับพื้นฐาน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 1.มีวัฒนธรรมองค์กร ที่เอื้อในการทำงาน - สร้างและส่งเสริม แนวคิด ทัศนคติ เชิงบวก เรื่องเพศ และอนามัยการ เจริญพันธุ์ - กำหนดเป็นนโยบาย ของจังหวัดถ่ายทอด สู่การปฏิบัติได้ จัดประชุมติดตามผล การดำเนินงานเพื่อ นำมาปรับปรุงอย่าง น้อยปีละ 2 ครั้ง(หรือ รายไตรมาส) บูรณาการงาน ร่วมกับภาคีเครือข่าย จัดกิจกรรมรณรงค์ สร้างกระแสด้าน อนามัยการเจริญพันธุ์ - ทุกหน่วยงานมีนโยบาย และแผนงานโครงการที่ ชัดเจน คณะอนุกรรมการ พัฒนาอนามัยการ เจริญพันธุ์ระดับ จังหวัด สนง.จังหวัด อปท. 17

18 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับพื้นฐาน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 2. มีระบบฐานข้อมูล สารสนเทศครบถ้วน และทันสมัย - พัฒนาฐานข้อมูล อนามัยการเจริญ พันธุ์ในวัยรุ่นและ เยาวชนให้ครบถ้วน และทันสมัย - จัดตั้ง คณะกรรมการ/ คณะทำงานเกี่ยวกับ การเก็บข้อมูล ประชุมเชิง คณะกรรมการ/ คณะทำงานเกี่ยวกับ การเก็บข้อมูล ประชาสัมพันธ์ข้อมูล มีฐานข้อมูลครบถ้วน ทันสมัยถูกต้อง เข้าถึง ง่าย - สนง.จังหวัด คณะอนุกรรม การพัฒนา อนามัยการ เจริญพันธุ์ระดับ จังหวัด 18

19 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับพื้นฐาน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 3.บุคลากรมีทักษะ และสมรรถนะที่ ทันสมัย - พัฒนาศักยภาพ บุคลากร มีแผนการพัฒนา อบรม/ประชุม/ สัมมนาศึกษาดูงาน บุคลากร จัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ระหว่าง หน่วยงาน - ประเมินผลการ ประชุมทุก 6 เดือน บุคลากรสามารถ ปฏิบัติงานด้านอนามัย การเจริญพันธุ์อย่างมี ประสิทธิภาพ อปท. พมจ. คณะอนุกรรม การพัฒนา อนามัยการ เจริญพันธุ์ระดับ จังหวัด 19


ดาวน์โหลด ppt ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดนครนายก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google