งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Measles Elimination, Thailand

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Measles Elimination, Thailand"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Measles Elimination, Thailand
Bureau of Epidemiology, DDC Bureau of General Communicable Diseases, DDC National Institute of Health, DMSc Bureau of Practical Development, DMS

2 โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด ตามพันธะสัญญานานาชาติ
เป้าหมาย ลดอุบัติการณ์ของโรคหัดในประเทศไทยให้ เหลือไม่เกิน  5 รายต่อประชากรหนึ่งล้านคนในปี  1 รายต่อประชากรหนึ่งล้านในปี 2563

3 Measles elimination: WHO definition
การไม่พบผู้ป่วยโรคหัดที่ติดเชื้อ ภายในประเทศ (Endemic measles case) ติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน 12 เดือนขึ้นไป ภายใต้ระบบเฝ้าระวังโรคหัดที่มีประสิทธิภาพ

4 ความสำคัญของการเฝ้าระวังโรคหัด
เป็นเครื่องมือหนึ่งเพื่อนำไปสู่กำจัดโรคหัด ติดตามสถานการณ์โรค บ่งชี้ประชากรกลุ่มเสี่ยง ตรวจจับการระบาดและควบคุมโรคอย่างรวดเร็ว

5 ระบบเฝ้าระวังโรคหัดที่มีประสิทธิภาพ
มีรายงานผู้ป่วยสงสัยโรคหัดไม่น้อยกว่า 2 ต่อประชากร แสนคน ระดับประเทศ มีการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายภายใน 48 ชั่วโมง ไม่น้อย กว่าร้อยละ 80 ของผู้ป่วยที่รายงานเข้าสู่ระบบเฝ้าระวัง มีการตรวจ measles IgM ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของ ผู้ป่วยเฉพาะราย มีการส่งตรวจ วิเคราะห์สายพันธุ์ไวรัสไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเหตุการณ์การระบาด

6 ระบบเฝ้าระวังโรคหัดของประเทศไทยในปัจจุบัน
ระบบปกติ (รายงาน 506) โครงการกำจัดโรคหัด นิยามผู้ป่วยสงสัย ที่ต้องรายงาน ไข้สูง ไอ ผื่น + corynza / Conjuntivitis / Koplik’s spot หรือ แพทย์วินิจฉัย ไข้สูง ไอ ผื่น + corynza / conjuntivitis / Koplik’s spot หรือ แพทย์วินิจฉัย การรายงานผู้ป่วยทันที Severe, admitted, death อายุน้อยกว่า 9 เดือน ทุกรายที่มา ร.พ. การสอบสวนโรคและการตรวจทางห้องปฏิบัติการ - Severe, Death, อายุน้อยกว่า 9 เดือน, cluster, รายแรก สอบสวนเฉพาะรายทุกรายที่มา รพ. (Measles IgM ทุกราย) สอบสวนเหตุการณ์การระบาด (Measles IgM 10 – 20 ราย + 5 Throat swab) ฐานข้อมูล R506: ข้อมูลทั่วไป, วันเริ่มป่วย, วันรับรักษา, ผลการรักษา ME เพิ่มตัวแปรประวัติวัคซีน, ประวัติสัมผัสโรค, ผล lab การรายงานและสอบสวนผู้ป่วยให้ได้ตามโครงการกำจัดโรคหัด ต้องไม่รอรายงานจาก ICD10!!!

7 นิยามผู้ป่วย 1. เกณฑ์ทางคลินิก (Clinical Criteria)
มีไข้ > 38 ํC และมีผื่นนูนแดงขึ้นขณะยังมีไข้ พร้อมทั้งมีอาการไอ (Cough) ร่วมกับอาการอื่นๆ อีกอย่างน้อยหนึ่งอาการ ดังต่อไปนี้ มีน้ำมูก (Coryza) เยื่อบุตาแดง (Conjunctivitis) ตรวจพบ Koplik's spot 1-2 วันก่อนและหลังผื่นขึ้น

8 นิยามผู้ป่วย 2. เกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory Criteria)
2.1. Serology test - Measles IgM ให้ผลบวก 2.2. Viral isolation - เพาะเชื้อจากสารคัดหลั่งทางเดินหายใจ โดย Throat swab culture หรือ Nasal swab culture

9 ประเภทผู้ป่วย ผู้ป่วยสงสัย (Suspected case) หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทาง คลินิก หรือ แพทย์วินิจฉัยโรคหัด ผู้ป่วยเข้าข่าย (Probable case) หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ ทางคลินิก ร่วมกับมีข้อมูลทางระบาดวิทยาเชื่อมโยงกับผู้ป่วยยืนยัน ผู้ป่วยยืนยัน (Confirmed case) หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ ทางคลินิก และ มีผลบวกทางห้องปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่ง

10 นิยามผู้สัมผัสใกล้ชิด
ผู้สัมผัสร่วมบ้าน ผู้ร่วมงาน หรือ ร่วมห้องเรียน ที่ต้องอยู่ในห้อง เดียวกันเป็นประจำ ผู้ที่มีประวัติคลุกคลีใกล้ชิดกับผู้ป่วย ในระยะ 7 วันก่อนวันเริ่มป่วยของผู้ป่วย เช่น แฟน เพื่อน สนิท

11 การรายงานผู้ป่วยเข้าสู่ระบบเฝ้าระวัง เพื่อการกำจัดโรคหัด
ให้รายงานตั้งแต่ผู้ป่วยสงสัย พร้อมทั้งเก็บ สิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ในผู้ป่วยสงสัยทุกรายที่มาโรงพยาบาล

12 ขั้นตอนการรายงาน/สอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายที่มา รพ. (1)

13 ขั้นตอนการรายงาน/สอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายที่มา รพ. (2)

14 การสอบสวนโรค เพื่อยืนยันเชื้อก่อโรคและสายพันธุ์
การสอบสวนเหตุการณ์การระบาด (outbreak investigation) กรณีที่เกิดโรคเป็นกลุ่มก้อน ให้รีบทำการสอบสวนการระบาดทันทีโดย - ใช้แบบสอบสวนโรคเฉพาะราย (ME1 form) หรือทะเบียนผู้ป่วยในการสอบสวนเหตุการณ์การระบาดของโรคหัด (ME2 form) - เก็บสิ่งส่งตรวจในผู้ป่วยสงสัย ได้แก่ Measles IgM ประมาณ 10 – 20 ตัวอย่าง ของผู้ป่วยสงสัยในเหตุการณ์ - สุ่มตัวอย่าง Throat / Nasal swab จำนวนไม่เกิน 5 ตัวอย่างเพื่อส่งตรวจ Genotype ของไวรัสโรคหัด ด้วยวิธี PCR เพื่อยืนยันเชื้อก่อโรคและสายพันธุ์ หาที่มาของการระบาดและควบคุมโรค

15 เกณฑ์ในการออกสอบสวนโรคในพื้นที่
มีผู้ป่วยสงสัยโรคหัดเป็นกลุ่มก้อน เมื่อสอบสวนผู้ป่วย Index case แล้วพบว่าผู้สัมผัสใกล้ชิดมี อาการ ป่วยสงสัยโรคหัดร่วมด้วย ผู้ป่วย Index case มีผลการตรวจ Measles IgM ให้ผลบวก ผู้ป่วย Index case มาจากพื้นที่ที่ความครอบคลุมของวัคซีนต่ำ ได้แก่ - Measles หรือ MMR เข็มที่ 1 ต่ำกว่าร้อยละ 95 ในเด็กอายุ 1 ถึง 2 ปี (นับจากวันเริ่มป่วยของผู้ป่วย index case) ในระดับตำบล - MMR เข็มที่ 2 ต่ำกว่าร้อยละ 95 ในเด็กนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ในโรงเรียน

16 ขั้นตอนการรายงาน/สอบสวนเหตุการณ์การระบาด (1)

17 ขั้นตอนการรายงาน/สอบสวนเหตุการณ์การระบาด (2)

18 แบบสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย (ME1 form)

19 แบบสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย (ME1 form)

20 แบบสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย (ME1 form)

21 แบบสอบสวนเหตุการณ์การระบาด(ME2 form)

22 ฐานข้อมูล online โครงการกำจัดโรคหัด

23

24

25

26

27

28 Measles Situation, Thailand 2011 – May 2012
Bureau of Epidemiology Ministry of Public Health

29 Reported Measles, 2011 – May 2012 R506* Measles Elimination Number
% of R506 2011 3,018 617 20.4% 2012 (to May) 2,710 1,006 37.1%

30 Number of reported measles by month, Thailand, 2011 - 2012

31 Number of reported measles by province, 2011
Measles outbreak ปัตตานี นราธิวาส ต.ค. - ธ.ค. Rubella outbreak ปัตตานี ต.ค. Rubella outbreak ก.ย. – ต.ค. Measles outbreak ก.ย. – ต.ค. Measles outbreak จ.ลำปาง ก.ย. – ต.ค. Rubella outbreak น่าน พ.ค. Rubella outbreak ธ.ค. Rubella outbreak สมุทรปราการ ก.พ Number of cases Number of cases R506 (75 prov) Measles elimination (41 Prov)

32 Number of reported measles by province, 2012
Measles outbreak ม.ค. R/O Measles outbreak มิ.ย. Measles outbreak ก.พ. Measles outbreak ก.พ. Number of cases Number of cases Measles cluster เม.ย. R506 (69 prov) Measles elimination (50 Prov)

33 Number of reported measles under 15 yr-old by province, Jan – May 2012
Number of cases Number of cases R506 Measles elimination

34 Number of reported measles age 1-5 yr-old by province, Jan – Mar 2012
Number of cases Number of cases R506 Measles elimination

35 Confirmed Measles outbreak, 2012
Province Place Age (yr) Race onset %AR 1 Chiang Rai School - Community 0 - 12 Jan NA 2 Petchaboon Chicken slaughtering factory 18 – 25 Myanmar Feb 1.8 3 Kanchanaburi Prison 22 – 34, 40 Thai 0.9 4 Phuket Foreign tourist (Europe) Adult Apr 4 ราย 5 Chiang Mai (R/O measles) School 6 – 9 June 8

36 Proportion of cases by age group
Age group (yr) Number of cases (per 100,000 pop) R506 Reported ME (Confirmed case) 0 - 4 1052 (26.8) 97 (2.5) 5 - 9 487 (12.0) 51 (1.3) 221 (4.9) 33 (0.7) 512 (5.3) 71 (0.7) 315 (3.0) 32 (0.3) >35 142 (0.4) 8 (0.1) Total 2,729 (4.3) 292 (0.5)

37 Vaccination history of reported cases in 2011
Age 1 – 6 ปี Confirmed Probable suspected ได้รับ 1 ครั้ง 16 1 31 ไม่เคยได้รับ ไม่ทราบ 24 20 27 รวม 40 21 58 Age 7 – 12 ปี Confirmed Probable suspected ได้รับ 1 ครั้ง 1 4 ได้รับ 2 ครั้ง 3 17 ไม่เคยได้รับ ไม่ทราบ 12 14 10 รวม 15 31 Measles elimination database

38 Reported Myanmar cases in ME, 2012
Province Number of cases สมุทรสาคร 31 เพชรบูรณ์ 23 ตาก 16 ชุมพร 15 ราชบุรี 12 กาญจนบุรี 11 เชียงราย 6 จังหวัดละ 1 ราย .... Total 130

39 สรุปสถานการณ์โรคหัด ประเทศไทยยังมีการเกิดโรคหัดภายในประเทศอย่าง ต่อเนื่อง และมีการระบาดเป็นกลุ่มใหญ่ประปราย ยังมีกลุ่มอายุที่ไม่มีภูมิคุ้มกัน ได้แก่ 20 – 30 ปี โดยเฉพาะแรงงานต่างด้าว ยังมีพื้นที่ที่ความครอบคลุมของวัคซีนต่ำ ทำให้เกิดการระบาดในเด็ก การพบโรคหัดในสัดส่วนที่สูงในกลุ่มเด็ก ทั้งจาก รายงาน 506 และ ME Measles vaccine เข็มที่ 1 มีความครอบคลุมต่ำ / ภูมิคุ้มกันลดลง (พ.ศ มี 30 confirmed ที่ได้วัคซีนแล้ว 1 ครั้ง)

40 สรุปและข้อเสนอแนะต่อระบบเฝ้าระวัง
มีความพร้อมของการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่ได้ มาตรฐานทั้ง NIH และ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ ยังขาดการประสานข้อมูลระหว่าง SRRT กับงาน ควบคุมโรค ควรมีการประเมินข้อมูลความครอบคลุมของวัคซีน จังหวัดที่มีอัตราป่วยในเด็กสูง หรือ มีการระบาดในโรงเรียน

41 Thank you for your attention


ดาวน์โหลด ppt Measles Elimination, Thailand

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google