ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยWan Kedmanee ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
นางสาวคนึงนิจ พิศณุวรเมท คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาเอก เทคโนโลยีสารสนเทศ
HARDDISK นางสาวคนึงนิจ พิศณุวรเมท รหัส คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาเอก เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัย ศิลปากร
2
HARDDISK Harddiskที่มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูล
หลังจากการทำงาน ไฟล์ต่างๆก็จะถูกบันทึก ไว้ในฮาร์ดดิสก์ ความจุมากก็ยิ่งสามารถบันทึกข้อมูลลงได้มาก
3
Inside Structure ฮาร์ดดิสก์ เป็นแผ่นจานแม่เหล็ก
ที่ทำด้วยแผ่นอะลูมิเนียมแข็งและแบนราบ แล้วฉาบด้วยสารแม่เหล็ก ฮาร์ดดิสก์ จะบรรจุอยู่ในกล่องสี่เหลี่ยม ผืนผ้าที่ทำจากวัสดุประเภทโลหะ ที่มีความแข็งแรง
4
Components แขนของหัวอ่าน (ActuatorArm)
ทำหน้าที่ หมุนแขนของหัวอ่านไปยังตำแหน่งที่เหมาะสม สำหรับการอ่านเขียนข้อมูล หัวอ่าน ( Read / Write Head ) เป็นส่วนที่ใช้ในการอ่านเขียนข้อมูลภายในหัวอ่าน มีลักษณะเป็นขดลวด
5
Components แผ่นจานแม่เหล็ก ( Platters) เป็นพื้นที่ที่ใช้สำหรับบันทึก
Components แผ่นจานแม่เหล็ก ( Platters) เป็นพื้นที่ที่ใช้สำหรับบันทึก เป็นแผ่นจานเหล็กกลมๆ มีเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ 1.8 – 5.25 นิ้ว มอเตอร์หมุนจานแม่เหล็ก ( Spindle Motor) เป็นมอเตอร์ที่ใช้หมุนของแผ่นแม่เหล็ก ยิ่งมอเตอร์หมุนเร็ว หัวอ่านก็จะเจอข้อมูลที่ต้องการเร็วขึ้น ความเร็ว หมุนได้เร็วถึง 10,000 รอบต่อนาที
6
Components ขั้วต่อและจัมเปอร์ ( Connector and Jumper )
เป็นส่วนประกอบที่อยู่ในส่วนท้ายของฮาร์ดดิสก์ทุกๆตัว ซึ่งประกอบไปด้วย ขั้วต่ออินเตอร์เฟส , ขั้วต่อสายไฟ และจัมเปอร์
7
โครงสร้างการจัดเรียงและเก็บข้อมูล
ข้อมูลที่เก็บบนจานแม่เหล็กทางกายภาพ อยู่กันอย่างกระจัดกระจาย ต้องมีการแบ่งพื้นที่ของฮาร์ดดิสก์ออกเป็นส่วนๆ Track & Sector Cylinder จะต้องมีการกำหนดโครงสร้างในการจัดเก็บข้อมูล เพื่อที่จะให้เครื่องคอมพิวเตอร์รู้ว่าจะต้องนำข้อมูลไปเก็บไว้ที่ใด หรืออ่านข้อมูลมาจากตำแหน่งใด
8
HARDDISK HARDDISK พื้นที่ของharddisk ยังใช้สำหรับติดตั้งระบบปฏิบัติการเพื่อให้สามารถเรียกให้โปรแกรมต่างๆ บนเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ พื้นที่บางส่วนยังถูกนำมาจำลองเป็นแรมเสมือนหรือvirtual memory ซึ่งจะช่วยให้การทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์เร็วขึ้น เป็นแหล่งเก็บข้อมูลสำรองของคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่เก็บบันทึกข้อมูลไว้ได้อย่างถาวร แม้ในสภาวะที่ไม่มีการจ่ายกระแสไฟฟ้า ข้เอมูลก็จะไม่มีการสูญหาย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.