ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การจำแนกประเภทอุบัติเหตุของไอแอลโอ
(ILO : International Labour Organization)
2
I. ประเภทของอุบัติเหตุจำแนก ตามชนิดของอุบัติเหตุ
1. การพลัดตกของคนงาน 2. การถูกวัสดุหล่นทับ 3. การถูกชนเฉี่ยวกระแทกโดยวัสดุทุกชนิดยกเว้น จากการหล่น 4. การถูกหนีบหรือจับเข้าไว้ระหว่างวัตถุ 2 ชิ้น
3
5. การออกแรงเกินกำลัง 6. การสัมผัสกับอุณหภูมิสูงหรือต่ำเกินไป 7. การสัมผัสกับกระแสไฟฟ้า 8. การสัมผัสกับสารพิษหรือการรับการแผ่รังสีต่าง ๆ 9. อุบัติเหตุชนิดอื่น ๆ ที่มิได้เข้าชนิดตามที่ระบุไว้ ในข้อ 1 ถึงหัวข้อที่ 8
4
II. ประเภทของอุบัติเหตุจำแนกตามตัวการเกิดอุบัติเหตุ
1. เครื่องจักรกล 1.1 เครื่องต้นกำลังต่าง ๆ ยกเว้นมอเตอร์ไฟฟ้า 1.2 อุปกรณ์ส่งถ่ายกำลังกล 1.3 เครื่องขึ้นรูปโลหะ
5
1.4 เครื่องจักรกลงานไม้ 1.5 เครื่องจักรกลการเกษตร 1.6 เครื่องจักรกลเหมืองแร่ 1.7 เครื่องจักรกลอื่น ๆ ที่มิได้ระบุเอาไว้ ในข้างต้น
6
2. วัสดุอุปกรณ์ในการขนถ่ายและยกวัสดุ
2.1 รถยกและเครื่องยกต่าง ๆ 2.2 รถหรือล้อที่มีรางเลื่อน 2.3 ล้อเลื่อนอื่น ๆ ที่ไม่แล่นบนรางเลื่อน 2.4 พาหนะขนส่งทางอากาศ 2.5 พาหนะขนส่งทางน้ำ 2.6 พาหนะขนส่งอื่น ๆ
7
3.1 ภาชนะบรรจุความดันสูง 3.2 เตาหลอม เตาเผา เตาอบ ฯลฯ
3. เครื่องจักรกลและอุปกรณ์อื่น ๆ 3.1 ภาชนะบรรจุความดันสูง 3.2 เตาหลอม เตาเผา เตาอบ ฯลฯ 3.3 ระบบเครื่องทำความเย็น 3.4 ระบบไฟฟ้าต่าง ๆ ที่ติดตั้งถาวรยกเว้น เครื่องมือไฟฟ้า
8
3.5 เครื่องมือไฟฟ้าต่าง ๆ ที่บันไดแบบต่าง ๆ
3.6 เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ ที่ไม่ใช้ไฟฟ้า 3.7 บันไดและล้อเลื่อนทำหน้า 3.8 โครงสร้างและนั่งร้าน 3.9 เครื่องจักรกลอื่น ๆ
9
4. วัสดุ สารและรังสี 4.1 วัตถุระเบิด
4. วัสดุ สารและรังสี 4.1 วัตถุระเบิด 4.2 ฝุ่นผง แก๊ส ของเหลว สารเคมีต่าง ๆ ยกเว้น วัตถุระเบิด 4.3 วัตถุที่แตกกระจายลอยไปในอากาศ 4.4 รังสีและสารกำมันตภาพรังสี 4.5 สารอื่น ๆ ที่มิได้ระบุไว้
10
5. สภาพแวดล้อมในการทำงาน
5. สภาพแวดล้อมในการทำงาน 5.1 ภายนอกอาคารโรงงาน 5.2 ภายในอาคารโรงงาน 5.3 ใต้ดิน 6. ตัวการอันตรายอื่น ๆ 6.1 สัตว์มีอันตรายต่าง ๆ 6.2 ตัวการอื่น ๆ ที่มิได้ระบุไว้
11
III. ประเภทของอุบัติเหตุจำแนกตามลักษณะของ ความบาดเจ็บ
1. เกิดบาดแผล 2. กระดูกเคลื่อน 3. เคล็ดขัดยอก ฟกช้ำบวม 4. การกระทบกระเทือนและบาดเจ็บภายใน 5. ถูกตัดหรือเฉือนเนื้อหรืออวัยวะออกไป
12
6. บาดแผลอื่น ๆ 7. บาดแผลฉกรรจ์ 8. ถูกอัดกระแทกจนเละ 9. ถูกไฟไหม้ 10. ถูกสารพิษอย่างแรง 11. แพ้สภาวะแวดล้อมในการทำงาน
13
12. การสลบหมดสติ 13. อันตรายจากกระแสไฟฟ้า 14. อันตรายจากสารกำมันตรังสี 15. ได้รับอันตรายผสมกันจากหลายสาเหตุ 16. อันตรายอื่น ๆ ที่มิได้ระบุเอาไว้
14
4. ประเภทของอุบัติเหตุจำแนกตามจุดที่เกิดแก่ร่างกาย
1. ศรีษะ 2. คอ 3. ลำตัว 4. แขนช่วงบน 5. แขนช่วงล่าง
15
6. ขาช่วงบน 7. ปลายขา (ข้อเท้า,ฝ่าเท้า) 8. ความบาดเจ็บทั่วไป 9. ความบาดเจ็บหลายแห่งพร้อม ๆ กัน 10. จุดบาดเจ็บอื่น ๆ ที่มิได้ระบุไว้
16
การคำนวณอัตราการเกิดอุบัติเหตุ
มาตรฐานเปรียบเทียบจำนวนครั้งของอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นต่อเวลาทำงาน 1 ล้าน ชั่วโมง-คนงาน (man-hours of exposure) หน่วยที่ได้เรียก อัตราความถี่ของอุบัติเหตุ (Frequency rate) , F อัตราความถี่ของอุบัติเหตุ (Frequency rate, F) จำนวนครั้งของอุบัติเหตุ x 1,000,000 = จำนวนชั่วโมง - คนงานทั้งหมด
17
N x 1,000,000 หรือ F = (m-h) โดยที่ N = จำนวนครั้งของอุบัติเหตุ (m-h) = จำนวนชั่วโมง – คนงานทั้งหมด ในช่วงเวลาที่คำนวณ
18
ตัวอย่าง 50 สัปดาห์ และสัปดาห์ละ 48 ชั่วโมง และมีการ
โรงงานแห่งหนึ่งมีคนงาน 500 คน ทำงานปีละ 50 สัปดาห์ และสัปดาห์ละ 48 ชั่วโมง และมีการ ขาดงานของคนงานทั้งสิ้น 5 % เนื่องจากเจ็บป่วย และธุรกิจส่วนตัวในเวลา 1 ปี มีอุบัติเหตุเกิดขึ้น 60 ครั้ง จะมีความถี่ของอุบัติเหตุเป็นเท่าใด
19
วิธีการคำนวณ จำนวน m - h ใน 1 ปี = 500 x 50 x 48 = 1,200,000 ชั่วโมง-คนงาน มีการขาดงาน 5 % = 1,200, (1,200,000) จำนวน (m - h) จริง = 1,200, ,000 (m - h) = 1,140,000 ชั่วโมง-คนงาน
20
60 x 1,000,000 จะได้ F = 1,140,000 คำตอบ F = ครั้ง/หนึ่งล้านชั่วโมงคนงาน
21
ค่าความร้ายแรงของอุบัติเหตุ (Severity rate ; S)
= จำนวนวันทำงานที่สูญเสีย x 1,000,000 (Severity rate ; S) จำนวนชั่วโมง-คนงานทั้งหมด หรือ DL x 1,000,000 S = (m - h) โดยที่ DL = จำนวนวันทำงานที่สูญเสีย (No. of days lost)
22
ตัวอย่าง จากตัวอย่างข้างต้น หากสำรวจพบว่า ในจำนวนอุบัติเหตุ ครั้ง ในปีนั้นคิดเป็นเวลา สูญเสียทั้งสิ้น 1, วัน จะคิดเป็นค่าความร้ายแรงของอุบัติเหตุเป็นเท่าใด
23
วิธีคำนวณ จาก S = DL x 1,000,000 (m-h) คำตอบ แทนค่า S = 1,720 x 1,000,000 1,140,000 = ,508 วัน
24
ตัวอย่าง จากตัวอย่างที่ (1) และ (2) หากว่าในจำนวนอุบัติเหตุ ครั้ง มีการตายเพิ่มขึ้นอีก 1 ราย จะมีค่าความร้ายแรงของอุบัติเหตุเป็น เท่าใด
25
วิธีคำนวณ จากตัวอย่าง (2) จำนวนวันทำงานสูญเสีย = 1,720 วัน
จากตัวอย่าง (2) จำนวนวันทำงานสูญเสีย = 1,720 วัน การตาย 1 รายถือว่ามีจำนวนวันทำงานสูญเสีย = 6,000 วัน ดังนั้น คิดเป็นจำนวนวันทำงานสูญเสียรวม = 7,720 วัน 7,720 x 1,000,000 ดังนั้น ค่า S = = 6,772 วัน 1,140,000
26
สรุป เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมาก ขณะที่ค่า F
เราพบว่าเมื่อมีการเสียชีวิตเกิดขึ้นค่า S จะ เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมาก ขณะที่ค่า F มีความเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อยเท่านั้น
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.