ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
CHAPTER 18 FOURIER TRANSFORM
2
Fourier Transform and Inverse-Fourier Transform
เป็นการแปลงสัญญาณเชิงเวลา ไปเป็นสัญญาณเชิงความถี่ Inverse-Fourier transform ดร. รังสรรค์ ทองทา
3
เงื่อนไขในการหา Fourier Transform
สัญญาณที่จะหา Fourier transform จะเป็นได้ทั้งสัญญาณเชิงคาบ (periodic signal) และไม่เป็นเชิงคาบ (non-periodic signal) ยกเว้นสัญญาณที่เข้าสู่อนันต์(ทั้งบวกและลบ) จะไม่สามารถหา Fourier transform ได้ เช่น ดร. รังสรรค์ ทองทา
4
Circuit Applications เช่นเดียวกับ Fourier series เราจะสามารถใช้ Fourier transform มาช่วยในการวิเคราะห์หา output ของวงจร เมื่อกำหนด input และ transfer function ของวงจรมาให้ (หรืออาจจะต้องหาเองก็ได้) ดังนั้นการใช้เทคนิด Fourier transform จึงได้เปรียบการใช้เทคนิด Fourier series ตรงที่สัญญาณไม่จำเป็นต้องเป็นสัญญาณเชิงคาบก็ได้ ส่วนวงจรนั้นยังคงจำเป็นต้องเป็นวงจรเชิงเส้น (ความจริงทั้งวิชานี้จะเกี่ยวข้องกับวงจรเชิงเส้นเท่านั้น! เราไม่เคยพูดถึง diode เลย) ดร. รังสรรค์ ทองทา
5
วิธีที่ 1 หาจากนิยามโดยตรง
การวิเคราะห์โดยใช้เทคนิค Fourier transform กระทำได้โดย เริ่มจากการหา transfer function ของวงจร ซึ่งกระทำได้หลายวิธี เช่น วิธีที่ 1 หาจากนิยามโดยตรง เมื่อ คือ impulse response ของวงจร วิธีที่ 2 หาจาก ดร. รังสรรค์ ทองทา
6
วิธีที่ 3 วิเคราะห์หาโดยตรงจากวงจร ซึ่งเริ่มจาก
หา impedance ของ component แต่ละตัว โดยแทน วิเคราะห์หา โดย input และ output ที่เราสนใจ คือ และ ตามลำดับ ในขั้นนี้ เราเพียงแค่ระบุว่า input และ output เป็นแรงดันหรือกระแสที่ตรงไหน แต่ยังไม่ต้องระบุว่ามีค่าเท่าไร ดร. รังสรรค์ ทองทา
7
จากนั้นจึงวิเคราะห์หา output เมื่อกำหนด input มาให้ โดย
เมื่อ คือ Fourier transform ของสัญญาณ input ที่กำหนดมาให้นั่นเอง ขอให้นักศึกษาดู Example 18.7 หน้า 834 Example 18.8 หน้า 835 ประกอบ ดร. รังสรรค์ ทองทา
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.