ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
403221 เคมีอินทรีย์ บทนำ ผศ. ดร. วราภรณ์ พาราสุข
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ introduction
2
กำเนิดอินทรีย์เคมี ศตวรรษที่ 18 ปี 1828 F. Woehler
organic chemistry -สารเคมีจากธรรมชาติ, สิ่งมีชีวิต inorganic chemistry -สารเคมีจากสิ่งไม่มีชีวิต, สินแร่ ปี 1828 F. Woehler introduction
3
เคมีอินทรีย์ ความสำคัญของสารอินทรีย์ ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ
อาหาร ยา สมุนไพร สีย้อม ยาง สารที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการในสิ่งมีชีวิต อุตสาหกรรมปิโตรเคมี เกษตร เคมีภัณฑ์ เภสัชกรรม การแพทย์ introduction
4
ความสำคัญของธาตุคาร์บอน
องค์ประกอบหลักของสิ่งมีชีวิต สร้างพันธะโควาเลนท์ที่แข็งแรงกับอะตอมคาร์บอนอื่น สามารถสร้างพันธะเดี่ยว พันธะคู่ พันธะสาม สร้างพันธะโควาเลนท์กับอะตอมชนิดอื่น เกิดสารประกอบมากมายหลายชนิด introduction
5
Atomic Orbitals ของคาร์บอน
introduction
6
การจัดอิเล็กตรอนใน Atomic Orbitals
2p Valence electron 2s 1s C N O introduction
7
sp3-hybridization Carbon 2p sp3 4 orbitals 2s 1s introduction
8
sp3-hybridization introduction
9
introduction
10
พันธะใน methane, ethane
introduction
11
sp3-hybridization Nitrogen Oxygen 2p sp3 2s 1s 4 orbitals
introduction
12
พันธะใน methanol (CH3OH)
introduction
13
พันธะซิกมา (sigma, s-bond)
head on overlap s-s orbital p-p orbital introduction
14
พันธะไพ (pi, p-bond) side by side overlap การซ้อนทับด้านข้างของออร์บิทัล p อิเล็กตรอนในพันธะไพ เรียกว่า p-electron introduction
15
sp2-hybridization Carbon 2p 2p sp2 2s 1s 3 orbitals
introduction
16
sp2-hybridization introduction
17
พันธะใน ethene (C2H4) introduction
18
sp2-hybridization Nitrogen Oxygen 2p 2p sp2 2s 1s 3 orbitals
introduction
19
พันธะใน formaldehyde และ acetaldehyde
CH2O acetaldehyde CH3CHO introduction
20
sp-hybridization Carbon 2p 2p sp 2 orbitals 2s 1s introduction
21
sp-hybridization introduction
22
พันธะใน ethyne (C2H2) introduction
23
sp-hybridization Nitrogen Oxygen 2p 2p sp 2s 1s 2 orbitals
No sigma bond 1s introduction
24
พันธะใน CH3CN และ allene
Allene CH2=C=CH2 introduction
25
เปรียบเทียบโครงสร้างของ ethyne ethene ethane
introduction
26
การเขียนสูตรโครงสร้างของสารอินทรีย์
Lewis Structure Condensed Structure Line-angle Structure introduction
27
polar and non-polar molecules
polar covalent bond พันธะระหว่างอะตอมที่มีค่า Electronegavity (EN) ต่างกัน polar and non-polar molecules polar m = 1.87 non-polar m = 0 introduction
28
แรงระหว่างโมเลกุล แรงไดโพล (dipole-dipole interaction) -โมเลกุลมีขั้ว
แรง Van der Waals -โมเลกุลไม่มีขั้ว -ขนาดของแรงเพิ่มขึ้นตามน้ำหนักโมเลกุล introduction
29
-ไฮโดรเจนที่สร้างพันธะกับอะตอมที่มีค่า EN. สูง เช่น O, N, halogen
พันธะไฮโดรเจน -ไฮโดรเจนที่สร้างพันธะกับอะตอมที่มีค่า EN. สูง เช่น O, N, halogen - พันธะไฮโดรเจนแข็งแรงกว่าแรงไดโพล introduction
30
การแบ่งประเภทสารอินทรีย์
แบ่งตามหมู่ฟังก์ชัน introduction
31
introduction
32
introduction
33
introduction
34
introduction
35
การแบ่งประเภทสารอินทรีย์
แบ่งตามโครงสร้าง สารประกอบแบบโซ่เปิด (open-chained) มีโครงสร้างเป็นโซ่ยาว หรือโซ่กิ่ง ไม่มีลักษณะเป็นวงเช่น CH3CH2CH2CH3 สารประกอบไซคลิก (cyclic) มีโครงสร้างเป็นวง introduction
36
สารประกอบไซคลิก (cyclic) แบ่งตามชนิดของพันธะในวงเป็น 2 ชนิดคือ
อะลิไซคลิก (alicyclcic) วงที่มีแต่พันธะเดี่ยวหรือมีพันธะคู่อยู่ห่างกันมากกว่า 1 พันธะ แอโรมาติก (aromatic) เป็นวงที่มีพันธะคู่สลับกับพันธะเดี่ยว มีจำนวนอิเลกตรอนพายซึ่งอยู่ในระนาบเดียวกันจำนวน 4n+2 เมื่อ n เป็นเลขจำนวนเต็ม alicyclcic aromatic introduction
37
การจำแนกชนิดของอะตอมคาร์บอนและไฮโดรเจน์
ชนิดของอะตอมคาร์บอนสามารถจำแนกเป็น ปฐมภูมิ (primary, 1o) มีคาร์บอนอื่นต่ออยู่ 1 อะตอม ทุติยภูมิ (secondary, 2o) มีคาร์บอนอื่นต่ออยู่ 2 อะตอม ตติยภูมิ (tertiary, 3o) มีคาร์บอนอื่นต่ออยู่ 3 อะตอม จตุรภูมิ (quarternary, 4o) มีคาร์บอนอื่นต่ออยู่ 4 อะตอม introduction
38
ชนิดของอะตอมไฮโดรเจน
ตัวอย่างคาร์บอนชนิดต่างๆ CH3-CH2-CH3 1o o o ชนิดของอะตอมไฮโดรเจน จำแนกเป็นชนิดปฐมภูมิ, ทุติยภูมิและตติยภูมิ ตามชนิดของคาร์บอนที่อะตอมไฮโดรเจนนั้นต่ออยู่ introduction
39
ไอโซเมอร์ (isomer) คือสารที่มีสูตรโมเลกุลเหมือนกัน
Structural isomer = constitutional isomer -ลำดับการต่อของอะตอมต่างกัน (connectivity) -สูตรโครงสร้างต่างกัน introduction
40
-สูตรโครงสร้างเหมือนกัน -การจัดวางอะตอมในที่ว่าง (space) ต่างกัน
Stereoisomer -สูตรโครงสร้างเหมือนกัน -การจัดวางอะตอมในที่ว่าง (space) ต่างกัน introduction
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.