ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
PAIBOONKIJ SUPPLY LIMITED PARTNERSHIP
2
การผลิตน้ำร้อนด้วยพลังงานแสงอาทิตย์
3
ตัวเก็บรังสีอาทิตย์ (solar collector) ทำหน้าที่ถ่ายเทความร้อนจากแสงอาทิตย์ให้แก่น้ำ และเก็บน้ำร้อนไว้ในถังเก็บน้ำร้อน เพื่อใช้บริโภค อาจมีฮีทเตอร์ไฟฟ้าสำหรับใช้ในช่วงที่ไม่มีแสงแดดเป็นระยะเวลานาน แผงรับรังสีแบบแผ่นเรียบ(Flat plate collector)
4
2.แผงรับรังสีแบบหลอดแก้วสุญญากาศ (Evacuated tubular collector)
5
ตัวเก็บรังสีอาทิตย์แบบแผ่นเรียบ (Flat plate collector)
ทำงานในช่วงความยาวคลื่น 0.3 – 3.0 µm ตามแต่ชนิดของตัวดูดกลืนรังสี สามารถทำอุณหภูมิสูงสุดประมาณ 100 C ไม่ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ตามดวงอาทิตย์
6
ตัวเก็บรังสีอาทิตย์แบบหลอดแก้วสุญญากาศ (Evacuated tube collector)
- เป็นท่อแก้วใสเรียงเป็นหลาย ๆ แถว ภายในท่อจะมีท่ออีกท่อหนึ่งทำหน้าที่เป็นตัวดูดกลืนรังสีเคลือบด้วยวัสดุพิเศษ - ช่องว่างระหว่างท่อชั้นในกับชั้นนอกเป็นสุญญากาศ เพื่อป้องกันการสูญเสียความร้อน และเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพของตัวกักเก็บความร้อน - สามารถทำอุณหภูมิสูงสุดประมาณ 200 C - ไม่ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ตามดวงอาทิตย์
7
พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อผลิตน้ำร้อน (SHW)
แบบแผ่นรับแสง ประสิทธิภาพทางความร้อน ระดับอุณหภูมิ ประมาณ (OC) 1. แผ่นเรียบชนิดมีแผ่นปิดใส (Single glazed-flat plate collector) 40-60% 40 – 100 3.หลอดแก้วสูญญากาศ (evacuated tube collector) >60%
8
ระบบผลิตน้ำร้อนพลังงานอาทิตย์ (Solar Water Heating; SWH System)
สามารถจำแนกออกได้ดังนี้ แบบใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพียงอย่างเดียว Thermosyphon Force circulation แบบผสมผสาน - ความร้อนเหลือทิ้ง
9
ระบบผลิตน้ำร้อนพลังงานอาทิตย์ แบบ Thermosyphon
อาศัยการไหลเวียนตามธรรมชาติ (Natural flow) ไม่ต้องการไฟฟ้าและปั้มไฟฟ้าในการหมุนเวียนน้ำในตัวเก็บรังสีอาทิตย์ ส่วนใหญ่ใช้กับระบบผลิตน้ำร้อนขนาดเล็ก มีทั้งแบบที่ใช้กับตัวเก็บรังสีอาทิตย์แบบ flat plate และ แบบ evacuated tube
10
ระบบผลิตน้ำร้อนพลังงานอาทิตย์ แบบ Force Circulation
ใช้ไฟฟ้าและปั้มไฟฟ้าในการหมุนเวียนน้ำในตัวเก็บรังสีอาทิตย์ สามารถใช้กับระบบผลิตน้ำร้อนขนาดเล็ก และขนาดใหญ่ สามารถผลิตน้ำร้อนได้อุณหภูมิสูง มีทั้งแบบที่ใช้กับตัวเก็บรังสีอาทิตย์แบบ flat plate และ แบบ evacuated tube
11
ระบบผลิตน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์ แบบผสมผสาน - ความร้อนเหลือทิ้ง (Hybrid)
ใช้อุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อนนำความร้อนเหลือทิ้งกลับมาใช้ผลิตน้ำร้อนร่วมกับพลังงานแสงอาทิตย์ สามารถช่วยลดขนาดของการผลิตน้ำร้อนจากแสงอาทิตย์ เป็นแหล่งพลังงานฟรีและสะอาด คืนทุนเร็วกว่าระบบผลิตน้ำร้อนจากแสงอาทิตย์เพียงอย่างเดียว
12
ประโยชน์จากการใช้เครื่องทำน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์
1. ลงทุนครั้งเดียว คุ้มทุนภายใน ปี 2. กำไรจากอายุการใช้งานที่เหลืออีกกว่า 20 ปี 3. ไม่มีค่าบำรุงรักษารายปี 4. สามารถเพิ่ม ลด ขนาดของระบบได้ตามความต้องการ 5. ไร้ควัน ไร้กลิ่น ไร้เสียงไม่สร้างมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม
13
ประโยชน์จากการใช้เครื่องทำน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์
6. น้ำร้อนที่ได้ อุณหภูมิจะคงที่สม่ำเสมอ ไม่ร้อนวูบวาบ 7. ปลอดภัยจากอุบัติเหตุ ไฟรั่ว ไฟดูด ไฟช๊อต หม้อต้มน้ำแห้ง,ระเบิด 8. ลดภาวะโลกร้อน ลดการใช้ไฟฟ้า ลดการเผาไหม้เชื้อเพลิง 9. ระบบได้รับการออกแบบให้ทำงานได้ในทุกสภาวะอากาศ 10. ลดการนำเข้าเชื้อเพลิง ช่วยชาติลดการขาดดุลทางเศรษฐกิจ
14
อัตราการใช้น้ำร้อนต่อวัน
สถานที่ ปริมาณการใช้น้ำร้อน บ้านพักอาศัย 50 ลิตร / คน โรงแรม 100 ลิตร / ห้อง โรงพยาบาล อพาร์เม้นท์,คอนโดมิเนียม สปา 200 ลิตร / ห้อง ร้านอาหาร 2 ลิตร / ใบ โรงงาน ตามความต้องการ
16
การติดตั้งเครื่องทำน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์
17
การติดตั้งเครื่องทำน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์
18
การติดตั้งเครื่องทำน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์
โรงแรมเชียงรายอิน
19
การติดตั้งเครื่องทำน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์
โรงแรมไดมอนปาร์คอิน
20
การติดตั้งเครื่องทำน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.