ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
บทที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Software) พีเพิลแวร์ (Peopleware) HW Read a,b c = a+b print c SW PW
2
ประเภทของคอมพิวเตอร์
แบ่งตามการกระทำของข้อมูล แบ่งตามลักษณะการใช้งาน แบ่งตามขนาดหน่วยความจำ
3
แบ่งตามการกระทำของข้อมูล
Analog Computer Digital Computer Hybrid Computer ความร้อน abc A/D DIGITAL D/A CONVERTER
4
แบ่งตามลักษณะการใช้งาน
ใช้งานเพื่อวัตถุประสงค์พิเศษ (Special purpose computer) Computer Temography (CT) ใช้งานทั่วไป (General purpose computer)
5
แบ่งตามขนาดหน่วยความจำ
Mainframe (Giga byte) Minicomputer (Mega byte) Microcomputer (Kilo byte) Super computer (Tera byte)
6
บิต กับ ไบต์ บิต (Bit) คือ หน่วยที่เล็กที่สุดที่อาจเป็นเลข 0 หรือ 1 ย่อมาจาก Binary Digit ไบต์ (Byte) คือ กลุ่มของบิต จำนวน 6-8 บิต ใช้เข้ารหัสแทน อักษร หรือ ตัวเลข 1 ตัว และนิยมใช้เป็นหน่วยวัดความจุข้อมูล
7
หน่วยวัดความจุข้อมูล
1 Byte = Bit 1 Kbyte = Byte =1024 Byte 1 Mbyte = Kbyte 1 Gbyte = Mbyte K= Kilo กิโล M = Mega เมกะ G = Giga จิกะ T = Tera เทรา
8
เครื่องเมนเฟรม (Mainframe)
มีสมรรถนะสูง คำนวณได้เร็ว มีผู้ใช้งานพร้อมกันได้หลายคน มักเชื่อมต่อกับเครื่องปลายทาง ได้จำนวนมาก ปัจจุบัน ใช้ตามหน่วยงานขนาดใหญ่
9
เครื่องมินิคอมพิวเตอร์ (Mini computer)
คอมพิวเตอร์ที่มีสมรรถนะปานกลาง สามารถเชื่อมต่อกับเครื่องปลายทางได้หลายเครื่อง ลักษณะการทำงานเป็นแบบ Centralized นิยมใช้กับหน่วยงานขนาดย่อม
10
ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer)
คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก หนึ่งคนใช้ได้หนึ่งเครื่อง นิยมใช้ในร้านค้าและสำนักงาน
11
หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
HARDWARE หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยความจำ (Memory Unit or Storage Unit)
12
อุปกรณ์รับข้อมูลเข้า (Input Unit)
การป้อนข้อมูลทางอุปกรณ์รับข้อมูลโดยตรง (Online) การเตรียมข้อมูลบนสื่อบันทึกข้อมูล (Off Line)
13
การป้อนข้อมูลทางอุปกรณ์รับข้อมูลโดยตรง (Online)
Keyboard อุปกรณ์รับ ข้อมูล CPU ข้อมูล
14
การเตรียมข้อมูลบนสื่อบันทึกข้อมูล (Off Line)
เครื่องเตรียมข้อมูล (Data entry device) Keypunch, Key to tape device, Key to disk device Key to cassette เครื่องอ่านข้อมูล Magnetic ink character recognition, Optical
15
ภาพการเตรียมข้อมูลแบบ Offline
เครื่องเตรียม ข้อมูล สื่อบันทึก ข้อมูล ข้อมูล อุปกรณ์อ่าน ข้อมูล CPU
16
หน่วยรับข้อมูล (input Unit)
แป้นพิมพ์ (Keyboard) เมาส์ (Mouse) สะแกนเนอร์ (Scanner) เครื่องอ่านรหัสแท่ง (Bar Code Reader)
17
หน่วยรับข้อมูล (input Unit)
เครื่องอ่านอักขระด้วยแสง (Optical Character Reader) เครื่องอ่านพิกัด (Digitizer) กล้องถ่ายวีดีทัศน์ (VDO Camera)
18
หน่วยประมวลผลกลาง Processor
หน่วยควบคุม และหน่วยคำนวณ ตรรกะ คือ สมองของคอมพิวเตอร์ ที่คิด ทำงานต่างๆตามที่เราสั่ง นิยมเรียกว่า หน่วยประมวลผลกลาง หรือ CPU : Central Processing Unit หรือ Processor ปัจจุบันมีผู้ย่อหน่วยนี้ลงบนแผ่นวงจรเล็กๆ เรียกว่า ชิพ (Chip) หรือ ไมโครโพรเซสเซอร์ Microprocessor
19
หน่วยประมวลผลกลาง (CPU : Central Processing Unit)
หน่วยคำนวณ และ ตรรกะ (ALU: Arithmetic Logic Unit ) หน่วยควบคุม (CU: Control Unit)
20
หน่วยความจำ (Memory Unit or Storage Unit)
หน่วยความจำหลัก (Main Memory) ROM : Read Only Memory RAM : Random Access Memory หน่วยความจำสำรอง (Secondary Storage/Memory) SAS: Sequential Access Storage DAS/RAS : Direct/Random Access Storage
21
พื้นที่ภายในหน่วยความจำหลัก
Program Area I/O Area Working Area
22
ภาพแสดงหน่วยประมวลผลกลาง
Secondary Processor Storage RAM ROM Output CU Keyboard ALU
23
ชนิดของรีจีเตอร์ (Register)
รีจีสเตอร์ทั่วไป (General Register) รีจีสเตอร์พิเศษ (Special Register) Accumulator Register Instruction Register Program Counter หรือ Address register
24
ตัวอย่างโปรแกรม BEGIN INPUT A,B C = A + B IF C > 15 THEN PRINT C
PROGRAM BEGIN INPUT A,B C = A + B IF C > 15 THEN PRINT C ELSE PRINT “NUMBER IS LESS THAN 15” END IF DATA 10,20 END
25
ภาพแสดงการทำงานของ CPU
MEMO C A B ACC REG R1 R2 R3 c ADDER Control Unit IR-REG ADD-REG
26
Access Memory Word
27
วิธีการบันทึกในหน่วยความจำสำรอง
อุปกรณ์การอ่าน และ อุปกรณ์บันทึก อุปกรณ์บันทึก สื่อบันทึก CPU MEMO อุปกรณ์อ่าน
28
หน่วยความจำสำรอง หรือ สื่อบันทึก (Secondary Memory)
SAS : Sequential Access Storage บัตรเจาะรู (Punch Card) Card Reader Card Punch แถบกระดาษ (Paper Tape) เทปแม่เหล็ก (Magnetic Tape) เทปตลับ (Tape cassette)
29
จานแม่เหล็ก (Magnetic Disk) แผ่นดิสเก็ตต์ (Diskette, Floppy Disk)
DAS/RAS จานแม่เหล็ก (Magnetic Disk) เครื่องอ่านและบันทึกจานแม่เหล็ก (Disk drive) แผ่นดิสเก็ตต์ (Diskette, Floppy Disk) เครื่องอ่านและบันทึกดิสเก็ตต์ (Diskette drive) Hard disk หรือ Fixed disk จาน CD-ROM
30
ภาพบัตรเจาะ ภาพบัตรเจาะ ภาพเครื่องเจาะบัตร ภาพแถบกระดาษ
31
ภาพเทปแม่เหล็ก
32
ลักษณะการบันทึกเทป Interrecord Gap Interblock Gap Logical Record
Physical record logical record Record 3 Record 1 Record 2 Interrecord Gap Interblock Gap R R R3 Logical Record Physical Record
33
ภาพเครื่องบันทึกเทปแม่เหล็ก
34
DAS: Direct Access Storage
Magnetic Disk Diskette Hard disk or Fixed disk CD-ROM
35
ภาพจานแม่เหล็ก (Magnetic disk)
36
รายละเอียดจานแม่เหล็ก
Tracks: ร่องบันทึกข้อมูลตามแนวเส้นรอบวงบนจานแม่เหล็ก หรือตาม ความกว้างของเทปแม่เหล็ก ร่องบันทึกข้อมูลแต่ละร่อง ไม่ต่อเนื่องกัน Sector: ส่วนหนึ่งของร่องบันทึกข้อมูลบนแผ่นจานแม่เหล็กชนิดอ่อน ซึ่ง บันทึกข้อมูลระหว่าง 128 byte ถึง 1 Kb Cylinder: แนวดิ่งตรงกันของร่องบันทึกข้อมูลบนชุดจานแม่เหล็ก แต่ละ แผ่นวางเรียงซ้อนกันบนแกนเดียวกัน ดังนั้นถ้า 200 ร่องบันทึก ก็จะมี 200 Cylinder Surface: พื้นผิวของจานแม่เหล็ก 1 แผ่นมี 2 พื้นผิว
37
ภาพแผ่นดิสเก็ตต์
38
ภาพแผ่น CD-ROM CD-ROM มีการบันทึกลักษณะเหมือนกับจาน แม่เหล็ก แต่สามารถบรรจุข้อมูลได้ มากกว่า
39
อุปกรณ์ทำหน้าที่แสดงผลข้อมูล (OUTPUT UNIT)
จอภาพแสดงผล CRT, VDO, TERMINAL, MONITOR เครื่องพิมพ์ (Printer) Impack printer : Dot matrix, Line printer Non- impack printer : Thermal printer, Page printer, Laser printer เครื่องวาด (Plotter), ลำโพง (Speaker)
40
ประเภทของการแสดงข้อมูล
Soft copy Hard copy
41
Software โปรแกรม (Program): ชุดคำสั่งที่มีความสอดคล้องกันเป็นลำดับ โปรแกรมถูกเขียนขึ้นโดย ภาษาคอมพิวเตอร์
42
ภาษาเครื่อง (Machine Language) ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language)
ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาเครื่อง (Machine Language) ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) ภาษาระดับสูง (High Level Language) ภาษาระดับสูงมาก (Fourth Generation Language)
43
ภาษาเครื่อง (Machine Language)
อยู่ในรูปเลขฐานสอง หน่วยควบคุมใน CPU สามารถตีความและปฏิบัติงานได้ทันที่ อ้างถึงข้อมูลที่ตำแหน่งใดๆก็ได้ ต้องสั่งงานทุกขั้นตอน
44
ภาษาแอสแซมบีส (Assembly Language)
กำหนดสัญลักษณ์ให้กับกลุ่มของเลขฐานสอง แทนด้วย AR 3,4 Symbolic Language Assembler
45
ภาษาระดับสูง (High Level Language)
สื่อความหมายและใช้งานง่าย ลักษณะคล้ายภาษาอังกฤษ 1 คำสั่งอาจประกอบด้วยภาษาเครื่องหลายคำสั่ง Compiler
46
ระบุแต่ความต้องการแล้วภาษาจะสร้างโปรแกรม ให้เอง SQL, DB2
ภาษาระดับสูงมาก (4 GL) ระบุแต่ความต้องการแล้วภาษาจะสร้างโปรแกรม ให้เอง SQL, DB2
47
Assembler Compiler L 3,4 L 4,B AR 3,4 ST 3,C 01011000 00110000
Machine Language L 3,4 L 4,B AR 3,4 ST 3,C
48
Cobol Compiler Machine Language ADD A TO B GIVING C
49
ประเภทของ Software System software Operating System:OS
Processing Program * Language Translater * Utilities Program Application Program Special Purpose Program Software Package *Word processor *Worksheet *Database
50
ระบบปฏิบัติการ (Operating System)
ซอฟต์แวร์ประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องทำหน้าที่ เป็นผู้จัดการคอยควบคุมดูแลการทำงานของคอมพิวเตอร์ตลอดเวลา หน้าที่หลัก เป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับเครื่อง แปลคำสั่งของผู้ใช้ และรับไปปฏิบัติ ควบคุมดูแลแฟ้มข้อมูล, หน่วยความจำ, ฮาร์ดแวร์
51
โปรแกรมประยุกต์ (Application Program)
โปรแกรมที่ใช้งานต่างๆ ตามข้อกำหนดของหน่วยงาน เขียน หรือ พัฒนาโดยภาษาคอมพิวเตอร์ โปรแกรมประยุกต์เรื่องเดียวกันที่ในหน่วยงานเดียวกันควร มีลักษณะคล้ายกัน
52
ภาพการทำงานระหว่าง Hardware กับ Software
USER COMMAND LANGUAGE PROCESSOR USER OPERATING SYSTEM EDITORS FILE SYSTEM COMPUTER HARDWARE LANGUAGE PROCESSOR CPU MEMORY APPLICATION PROGRAMS WORD PROCESSOR, GRAPHICS PACKAGE, GRAMES DEVICE COMMUNICATION SUPPORT LOADER USER USER
53
Single CPU, Multiple CPU Multiple Program in Memory
ศัพท์ที่ควรทราบ Time Sharing Multiprogramming Single CPU, Multiple CPU Multiple Program in Memory Single (Multiple) Program in Execution
54
บุคลากรคอมพิวเตอร์ (People ware)
ระดับผู้บริหาร (Administration) Electronic Data Processing manager :EDP ระดับวิชาการ (Technical) System Analyst and Designer, Programmer ระดับปฏิบัติการ (Operation) Computer Operator Keypunch Operator, Data Entry
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.