ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยRichard Lesage ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน เรื่อง กำลังไฟฟ้าและพลังงานไฟฟ้า
เรื่อง กำลังไฟฟ้าและพลังงานไฟฟ้า สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย นางสุพรรษา ทิพย์สิงห์
2
เครื่องใช้ไฟฟ้า 1. เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้า เป็นพลังงานแสง
เครื่องใช้ไฟฟ้า จะทำหน้าที่เปลี่ยนรูปพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานรูปอื่น 1. เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้า เป็นพลังงานแสง
3
2. เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน
เครื่องใช้ไฟฟ้า 2. เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน เตารีด เครื่องปิ้งขนมปัง หม้อหุงข้าว
4
3. เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล
เครื่องใช้ไฟฟ้า 3. เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล พัดลม เครื่องดูดฝุ่น ตู้เย็น เครื่องซักผ้า
5
4. เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง
เครื่องใช้ไฟฟ้า 4. เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง ลำโพง ออดไฟฟ้า
6
กำลังไฟฟ้า (power) กำลังไฟฟ้า คือ พลังงานที่สูญเสียหรือไปใช้กับเครื่องใช้ไฟฟ้า ในหนึ่งหน่วยเวลา ในเครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดต่างๆจะมีฉลากติดอยู่เช่น พัดลมมีฉลากติด 220v,100w หมายถึง พัดลมเครื่องนี้ใช้กับไฟฟ้าที่มีความต่างศักย์ 220 โวลต์ และ ใน 1 วินาที พัดลมนี้จะใช้พลังงานไฟฟ้า 100 จูล เพื่อเปลี่ยนพลังงาน ไฟฟ้าเป็นพลังงานกล ในการหมุน
7
เราสามารถเขียนสูตรความสัมพันธ์ของกำลังไฟฟ้าได้ดังนี้
P = W t เมื่อ P = กำลังไฟฟ้า (วัตต์) W = พลังงานไฟฟ้า (จูล) t = เวลา (วินาที)
8
กำลังไฟฟ้า W P = t 800 = 40 วัตต์ P = 20
ตัวอย่าง หลอดไฟหลอดหนึ่งใช้พลังงานไฟฟ้า 800 จูล ในเวลา 20 วินาที หลอดไฟนี้มีกำลังไฟฟ้าเท่าใด ? วิธีทำ จากสูตร P = W t P = 800 20 = 40 วัตต์ แทนค่าในสูตร
9
และเราสามารถหากำลังไฟฟ้าได้จากสูตรความสัมพันธ์
P = VI เมื่อ P = กำลังไฟฟ้า (วัตต์) V = ความต่างศักย์(โวลต์) I = ปริมาณกระแสไฟฟ้า(แอมแปร์)
10
กำลังไฟฟ้า P = VI P = 220 x 5 = 1,100 วัตต์ วิธีทำ จากสูตร
ตัวอย่าง เตารีดใช้กับไฟฟ้าความต่างศักย์ 220 โวลต์ มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน 5 แอมแปร์ เตารีดมี กำลังไฟฟ้าเท่าใด ? วิธีทำ จากสูตร P = VI P = 220 x 5 แทนค่าในสูตร = 1,100 วัตต์
11
กำลังไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า คือ พลังงานที่สิ้นเปลืองไปกับเครื่องใช้ไฟฟ้าหาได้จากความสัมพันธ์ W=P.t เมื่อ W = พลังงานไฟฟ้า (จูล) P = กำลังไฟฟ้า(วัตต์) t = เวลา (วินาที)
12
เราสามารถคำนวณหาพลังงานไฟฟ้าจากสูตรความสัมพันธ์ ดังนี้
W = P.t พลังงานไฟฟ้า(จูล) = กำลังไฟฟ้า(วัตต์).เวลา(วินาที) W = P.t พลังงานไฟฟ้า= กำลังไฟฟ้า.เวลา กิโลวัตต์ชั่วโมง กิโลวัตต์ ชั่วโมง กิโลวัตต์ชั่วโมง โดยทั่วไปจะ เรียกว่า ยูนิต (Unit) หรือ หน่วย
13
= 1 หน่วย พลังงานไฟฟ้า 1000 W = P.t 1000 W = 200 x 5 หน่วย
ตัวอย่าง ตู้เย็นมีกำลังไฟฟ้า 200 วัตต์ ใช้นาน 5 ชั่วโมง จะสิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้ากี่หน่วย W = P.t 1000 วิธีทำ จากสูตร แทนค่าในสูตร W = 200 x 5 หน่วย 1000 = 1 หน่วย
14
การคำนวณค่าไฟฟ้า การไฟฟ้าสามารถรู้ว่าบ้านแต่ละหลังใช้ พลังงานไฟฟ้าเท่าไหร่ โดยอ่านจากเครื่องวัด
15
มิเตอร์ไฟฟ้า การคิดค่าพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ในแต่ละบ้าน
จะวัดโดยใช้มิเตอร์ไฟฟ้า วัดพลังงาน ซึ่ง ค่าที่วัดได้จะมีหน่วยเป็น กิโลวัตต์ชั่วโมง KWh หรือ ยูนิต (Unit) หรือ เรียกอีกอย่างว่า หน่วย
16
การคำนวณค่าไฟฟ้า การไฟฟ้าจะคิดเงินค่าไฟฟ้าตามปริมาณไฟฟ้าที่ใช้ในอัตราก้าวหน้า คือ เมื่อใช้พลังงานไฟฟ้ามากขึ้น ราคาต่อหน่วยจะมากขึ้นด้วย โดยผู้ใช้จะ จ่ายเงินค่าไฟฟ้าตามใบเสร็จรับเงินค่าไฟฟ้า ปัจจัยที่นำมาคิดค่าไฟฟ้า มีดังนี้ อัตราค่าไฟฟ้า + ค่าบริการรายเดือน + ค่าFT + ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1. อัตราค่าไฟฟ้า 2. ค่าบริการรายเดือน 3. ค่าไฟฟ้าผันแปร(FT) 4. ภาษีมูลค่าเพิ่ม
17
การคำนวณค่าไฟฟ้า
18
8.19 บาท 40.90 บาท ค่าบริการรายเดือน
ถ้าไม่เกิน 150 หน่วย จะเสียค่าบริการ 8.19 บาท ถ้าเกิน 150 หน่วย จะเสียค่าบริการ 40.90 บาท
19
ค่า FT และ ภาษี ค่า FT คือค่าต้นทุนการผลิต มีค่าไม่แน่นอน
ขึ้นอยู่กับค่าวัตถุดิบในการผลิตกระแสไฟฟ้า ภาษามูลค่าเพิ่ม คือ ค่าภาษีที่คิดจากค่าไฟฟ้า ในแต่ละเดือน โดยคิดเพิ่มอีก 7 เปอร์เซ็นต์
20
มาช่วยกันประหยัดไฟฟ้ากันเถอะ!
ใช้ไฟฟ้าน้อย ก็จ่ายค่าไฟน้อย ใช้ไฟฟ้ามาก ก็ต้องจ่ายค่าไฟมาก
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.