ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยGeert Vedder ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
หัวข้อที่ 3.2 ระบบธรรมาภิบาลและองค์กรคุณภาพ ตัวชี้วัด : ร้อยละการจัดซื้อร่วมของยา เวชภัณฑ์มิใช่ยา วัสดุวิทยาศาสตร์และทันตกรรม (ร้อยละ 20) สถานการณ์: ปี 2561 การจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาทั้งหมด ไตรมาสที่ 1 ร้อยละ 28.59 ปัจจัยความสำเร็จ 1.มีการบริหารจัดการด้านยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา แต่ละประเภทในรูปคณะกรรมการที่ประกอบด้วยผู้แทนที่เกี่ยวข้อง 2.มีกรอบและบัญชีรายการฯที่บริหารจัดการสอดคล้องกับศักยภาพของหน่วยบริการ 3.จังหวัดมีคณะกรรมการตรวจสอบภายใน ติดตาม กำกับและตรวจสอบการจัดซื้อจัดจ้าง ตามระเบียบพัสดุ 4.การส่งเสริมจริยธรรมในการจัดซื้อและส่งเสริมการขายยา ร้อยละการจัดซื้อร่วมของยา เวชภัณฑ์มิใช่ยา วัสดุวิทยาศาสตร์และท้นตกรรม (ตค.-มิย.61) อำเภอ เป้าหมาย ผลงาน (ร้อยละ) เมืองพิษณุโลก > ร้อยละ20 22.30 นครไทย 88.20 ชาติตระการ 82.74 บางระกำ 74.75 บางกระทุ่ม 83.63 พรหมพิราม 93.30 วัดโบสถ์ 80.98 วังทอง 83.21 เนินมะปราง 85.55 รวม 36.82 ข้อจำกัด วิธี e-bidding การบันทึกข้อมูลระบบ e-GP อยู่ระหว่างดำเนินการ
2
หัวข้อที่ 3.2 ระบบธรรมาภิบาลและองค์กรคุณภาพ ตัวชี้วัด : ร้อยละการจัดซื้อร่วมของยา เวชภัณฑ์มิใช่ยา วัสดุวิทยาศาสตร์และทันตกรรม (ร้อยละ 20) มูลค่าการจัดซื้อร่วมยา เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา ปี 2561 (รอบ 9เดือน) พบว่าการจัดซื้อร่วมยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาร้อยละ 36.82 ลำดับ กลุ่มวัสดุ มูลค่าจัดซื้อร่วม (บาท) มูลค่าจัดซื้อทั้งหมด (บาท) ร้อยละการจัดซื้อร่วม 1 ยา 146,114,086.95 56,391,5378.5 25.91 2 วัสดุการแพทย์ 42,114,938.96 58,102,711.63 72.48 3 วัสดุทันตกรรม 3,257,506 9,449,623 25.47 4 วัสดุเอกซเรย์ 5 วัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ 71ม444,256.55 82ม597,064.64 86.50 รวม ข้อเสนอแนะ 1.เพิ่มศักยภาพผู้รับผิดชอบแต่ละคณะวัสดุ ที่ปฏิบัติงานการจัดซื้อจัดจ้างด้านระเบียบกระทรวงสาธารณสุข และพรบ.การจัดซื้อจัดจ้างและบริหารพัสดุภาครัฐ ฉบับใหม่ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพถูกต้องอย่างต่อเนื่อง 2. ระดับเขตควรพัฒนากลไกการจัดซื้อร่วมวัสดุการแพทย์ที่มีราคาสูงสำหรับโรงพยาบาลขนาดใหญ่
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.