ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSiska Oesman ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
การเสริมสร้างพลังอำนาจ ในผู้ดูแลผู้ป่วยมะเร็งเต้านมในระยะแพร่กระจาย
รศ.ดร.ดาราวรรณ ต๊ะปินตา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2
Gibson (1991) กล่าวถึงการเสริมสร้างพลังอำนาจว่า เป็นแนวคิดที่อธิบาย กระบวนการทางสังคม การส่งเสริม การพัฒนาและเสริมสร้าง ความสามารถของบุคคลในการตอบสนองความต้องการของตนเอง และแก้ปัญหาด้วยตนเอง ความสามารถในการใช้ทรัพยากรที่จำเป็น ในการดำรงชีวิต เพื่อให้เกิดความรู้สึกเชื่อมั่นในตนเองและรู้สึกว่า ตนเองมีอำนาจสามารถควบคุมความเป็นอยู่หรือวิถีชีวิตของตนเอง ได้ รวมถึงการแสดงถึงการยอมรับและชื่นชม
3
(Nanette Page & Cheryl E. Czuba 1999)
การเสริมสร้างพลังอำนาจ หมายถึง กระบวนการทางสังคม ในหลายๆมิติ ที่จะช่วยให้บุคคลเพิ่มความสามารถในการ ควบคุมสิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นในชีวิต เป็นกระบวนการที่ผลักดัน ให้บุคคลเป็นผู้ดูแลตนเอง โดยใช้ศักยภาพที่บุคคลมีอย่าง เต็มที่มาแก้ปัญหาที่บุคคลให้คุณค่า
4
ความสำคัญของการมีพลังอำนาจในผู้ดูแล
ให้ความรู้สึกพอใจในสิ่งที่บุคคลกระทำ การรู้สึกหมดพลังอำนาจจะทำให้เกิดอาการ burnout เพิ่มประสิทธิภาพในการดูแล ทำให้มีความอดทนในการเผชิญปัญหาได้มากขึ้น ทำให้สามารถตัดสินใจในการดูแลได้ดีขึ้น มีอิสระในการดูแล เชื่อมั่นในตนเอง รับรู้ปัญหาด้วยความมั่นคง
5
ปัจจัยที่จะช่วยให้พยาบาลสามารถสร้างเสริม พลังอำนาจให้กับผู้ดูแล
ปัจจัยที่จะช่วยให้พยาบาลสามารถสร้างเสริม พลังอำนาจให้กับผู้ดูแล สัมพันธภาพที่ดี ความไว้วางใจและความเข้าใจ ข้อตกลง พันธสัญญา ความมีพลังอำนาจในตัวของพยาบาล
6
พลังอำนาจประกอบด้วย พลังความรู้และทักษะ พลังใจ พลังจิตวิญญาน
พลังเศรษฐกิจ พลังการสนับสนุน
7
วิธีการเสริมพลังอำนาจให้กับผู้ดูแล
สร้างสัมพันธภาพแห่งความไว้วางใจ ให้ความรู้ / ฝึกทักษะที่จำเป็น เป็นที่ปรึกษาเรื่องเศรษฐกิจ สนับสนุนให้ได้รับการสนับสนุนทางสังคม ชวนคิดถึงสิ่งที่ทำให้กำลังใจและจิตวิญญานลดลง ความคิดอัตโนมัติทางลบ ความหมายของชีวิตที่แท้และความตาย ความหวังที่ผิด
8
คิดเพียงด้านใดด้านหนึ่ง (All or none thinking)
ตัวอย่างลักษณะความคิดที่ก่อให้เกิดทุกข์ที่บิดเบือน (ความคิดอัตโนมัติทางลบ) คิดเพียงด้านใดด้านหนึ่ง (All or none thinking) คิดมากกว่าความเป็นจริงแบบเหมารวม (Overgeneralization) คิดคาดเดาไปล่วงหน้า (Catastrophizing /fortune telling) การแปลความหมายโดยปราศจากเหตุผล (Emotional reasoning) การตีตรา (Labeling)
9
ตัวอย่างลักษณะความคิดที่ก่อให้เกิดทุกข์ (ความคิดอัตโนมัติทางลบ)
การคิดต่อเหตุการณ์ต่างๆว่า ควร หรือ ต้อง (Should and must statement) การเลือกที่จะเชื่อหรือคิดในสิ่งที่ตนเองคิดหรือมีความ เชื่อ(Mental filter) การคิดเกี่ยวกับตนเองจากเหตุการณ์ที่ไม่เกี่ยวกับ ตนเอง(Personalization) การขยายต่อเติมหรือตัดทอนเรื่องราว (Magnification/minimization) การคิดเดาใจผู้อื่น (Mind reading)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.