ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยТимур Гуровский ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
โรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล Rational Drug Use Hospital
Nittaya Yuangdetkla MD.
2
ขอบเขตเนื้อหา RDU คืออะไร ที่มาของ RDU กุญแจสำคัญ
Responsible Use of Antibiotics ตัวชี้วัด Special Population Care
3
การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล(Rational Drug use)
Patients receive medications appropiate to their clinical needs,in doses that meet their own individual requirements ,for an adequate period of time,and at the lowest cost to them and their community(WHO 1985)
4
การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล (Rational Drug use)
การใช้ยาโดยมีข้อบ่งชี้ เป็นยาที่มีคุณภาพ มีประสิทธิผลจริง สนับสนุนด้วยหลักฐานที่เชื่อถือได้ ให้ ประโยชน์ทางคลินิกเหนือกว่าความเสี่ยงจากการใช้ยาอย่างชัดเจน มีราคาเหมาะสม คุ้มค่าตามหลัก เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข ไม่เป็นการใช้ยาอย่างซ้ำซ้อน คำนึงถึงปัญหาเชื้อดื้อยา เป็นการใช้ยาในกรอบ บัญชียาหลักแห่งชาติอย่างเป็นขั้นตอนตามแนวทางพิจารณาการใช้ยา โดยใช้ยาในขนาดที่พอเหมาะกับ ผู้ป่วยในแต่ละกรณีด้วยวิธีการให้ยาและความถี่ในการให้ยาที่ถูกต้องตามหลักเภสัชวิทยาคลินิก ด้วย ระยะเวลาการรักษาที่เหมาะสม ผู้ป่วยให้การยอมรับและสามารถใช้ยาดังกล่าวได้อย่างถูกต้องและต่อเนื่อง กองทุนในระบบประกันสุขภาพหรือระบบสวัสดิการสามารถให้เบิกจ่ายค่ายานั้นได้อย่างยั่งยืน เป็นการใช้ยา ที่ไม่เลือกปฏิบัติเพื่อให้ผู้ป่วยทุกคนใช้ยานั้นได้อย่างเท่าเทียมกันและไม่ถูกปฏิเสธยาที่สมควรได้รับ
5
ที่มา การใช้ยาอย่างไม่สมเหตุผลเป็นปัญหาที่จำเป็นต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วนและ ควรได้รับการยกสถานะเป็นวาระแห่งชาติ(รายงานการประชุมอนุกรรมการส่งเสริมการใช้ยา อย่างสมเหตุผล ภายใต้คณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ) ปี 2554 บรรจุการใช้ยาอย่างสมเหตุผลเป็นยุทธศาตร์ด้านที่ 2 ของยุทธศาสตร์การ พัฒนาระบบยาแห่งชาติ พ.ศ Service plan สาขาที่ 15 การพัฒนาระบบยาอย่างสมเหตุสมผล ปีงบประมาณ 2560
6
BBC News "Global antibiotics 'revolution' needed" 19/05/ Review on Antimicrobial Resistance
7
ความสำคัญของปัญหา ที่มา : สำนักงานนิเทศและประชาสัมพันธ์ กระทรวงสาธารณสุข โพสต์ใน website ของศูนย์เฝ้าระวังเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพแห่งชาติ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 24 มีนาคม 2556
8
มูลค่าของยาปฏิชีวนะในโรค URI และ Acute Diarrhea (โรงพยาบาลทั้งหมด ในสังกัด สปสช.)
มูลค่ารวมยาต้านจุลชีพที่ใช้ใน URI & AD ปีละ 690 ล้านบาท อัตราการใช้ยาเฉลี่ยประมาณ 50% ของ visits หากอัตราใช้ยาเฉลี่ยลดเหลือ 40% ลดเงินได้ 138 ล้านบาท หากอัตราใช้ยาเฉลี่ยลดเหลือ 30% ลดเงินได้ 276 ล้านบาท หากอัตราใช้ยาเฉลี่ยลดเหลือ 20% ลดเงินได้ 414 ล้านบาท งบประมาณที่ประหยัดได้มีมากกว่า P4P 47 ล้านบาทหลายเท่า
9
กุญแจสำคัญ P-Pharmacy and Therapeutics Committee(PTC) Strengthening การสร้างความเข้มแข็งของคณะกรรมการเภสัชบำบัด L-Labeling and leaflet for Patient Information การจัดทำฉลากยา ฉลากยาเสริม และข้อมูลยาสู่ประชาชน E-Essential RDU Tools การจัดทำหรือจัดหาเครื่องมือจำเป็นที่ช่วยให้เกิดการสั่งใช้ยาอย่างสมเหตุผล –NCD ,RUA
10
กุญแจสำคัญ A-Awareness for RDU Principles among Health Personnel and Patients การสร้างความตระหนักรู้ของบุคลากรทางการแพทย์และผู้รับบริการต่อการใช้ยาอยางสมเหตุผล S-Special Population Care การดูแลด้านยาเพื่อความปลอดภัยของประชากรกลุ่มพิเศษ E-Ethics in Prescription การส่งเสริมจริยธรรมและจรรยาบรรณทางการแพทย์ในการสั่งใช้ยา
11
Responsible Use of Antibiotics : RUA
ใช้ยาปฏิชีวนะน้อยที่สุดเท่าที่จำเป็น อัตราการใช้ยาปฏิชีวนะไม่มากกว่าเกณฑ์ที่กำหนด ลดโอกาสเสี่ยงต่อพิษและผลข้างเคียงของยาปฏิชีวนะ ชะลอการดื้อยาปฏิชีวนะของเชื้อแบคทีเรีย ลดค่าใช้จ่ายยาปฏิชีวนะ สร้างวัฒนธรรมใหม่ของการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบ
12
ฉลากยาเสริม
13
การใช้ยาปีงบ 2560 รพ.สัตหีบกม.10
14
การใช้ยา รพ.สต.และ PCU
15
ข้อมูลพื้นฐาน มิถุนายน - ตุลาคม 2554 จำนวนผู้ป่วยและอัตราเฉลี่ยการได้รับยาปฏิชีวนะ (รพ.ศิริราช)
จน.ผู้ป่วยต่อเดือน ATB use rate URI -OPD -ปกส. -PCU 4000 900 220 70% 71% 75% Diarrhea 970 110 35 61% 85% Simple fresh wound 370 87% ที่มา:โครงการส่งเสริมการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุสมผลรพ.ศิริราช ตามแนวคิดASU
16
การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบ Responsible Use Of Antibiotics ,RUA
1.Respirator tract infection(RI) 2.Acute diarrhea(AD) 3.Fresh traumatic wound(FTW) 4.Antibiotic prophylaxis in vaginal delivery of normal term labor(APL)
17
โรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน
1.โรคหวัด(Common cold) 2.คออักเสบ(Pharyngitis) 3.ไซนัสอักเสบเฉียบพลัน(Acute Rhinosinusitis) 4.โรคหูชั้นกลางอักเสบเฉียบพลัน(Acute Otitis Media) 5.หลอดลมอักเสบเฉียบพลัน (Acute Bronchitis)
18
Pharynx Anatomy
19
อาการของโรคระบบทางเดินหายใจส่วนบน
น้ำมูกไหล จาม คัดจมูก ไอ มีเสมหะ เสมหะไหลลงคอ เจ็บคอ เสียงแหบ ปวดศรีษะ ครันเนื้อครั่นตัว มีไข้ ปวดเมื่อย อ่อนเพลีย
20
Acute Pharyngitis คออักเสบ
การติดเชื้อบริเวณคอหอย(nasopharynx,oropharynx) แนวทางการรักษาด้วยยาต้านจุลชีพยังมีความหลากหลายซึ่งก่อให้เกิดเชื้อ ดื้อยาและสิ้นเปลืองค่ารักษาในรายที่ไม่จำเป็น
21
สาเหตุของโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจส่วนบน
1.เชื้อไวรัสและภูมิแพ้ พบมากกว่า 80 % 2.เชื้อแบคทีเรีย พบน้อยกว่า 20 % ดังนั้นอย่างน้อย 8 ใน 10 ราย จึงไม่ต้องให้ยาปฏิชีวนะ
22
Cause of Acute Pharyngitis
สาเหตุส่วนใหญ่ คือVirus : Influenzae, Parainfluenzae Adenovirus, RSV ที่ รองลงมาคือ Coxsackie virus,Echovirus,Herpes virus,EBV Bacteria – M/C group A β-hemolytic streptococcus(GABHS) รองลงมา Gr. C Gr. G streptococci,C.diphtheriae,anaerobes Atypical phathogens – Mycoplasma pneumonia,Chlamydia pneumoniae
23
ข้อควรปฏิบัติและข้อควรหลีกเลี่ยง
ไม่ใช้ยาปฏิชีวนะในโรคหวัดและไข้หวัดใหญ่(Influenza)ที่ไม่มีปอดอักเสบติดเชื้อร่วมด้วย ไข้มักหายใน 3-5วัน เจ็บคอ 4-5 วัน น้ำมูก 5-7วัน ไอ 7-14 วัน ยาปฏิชีวนะไม่ลดความรุนแรงของอาการ ไม่ป้องกันการติดเชื้อแทรกซ้อนและไม่ลดระยะเวลาของอาการ อย่างมีนัยสำคัญ รักษาโดยการบรรเทาอาการ ใช้ยาบรรเทาตามอาการที่รบกวนผู้ป่วยมาก เช่น ยาลดไข้ แก้ปวด ซึ่งบรรเทาอาการเจ็บคอด้วย
24
Bacterial & Viral
25
เกณฑ์ที่ใช้ระบุว่าผู้ป่วยที่เจ็บคอควรได้รับยาปฏิชีวนะหรือไม่ เรียกว่า Center Criteria
ผู้ป่วยมีไข้ วัดอุณหภูมิได้ตั้งแต่ 38 องศาเซลเซียส มีฝ้าขาวที่ต่อมทอนซิล คลำพบต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอโตและกดเจ็บ ไม่มีอาการไอ มีอย่างน้อย 3 ข้อ โอกาส ติดเชื้อ GABHS 40-60% พิจารณาให้ยาปฏิชีวนะแก่ผู้ป่วยโรคหัวใจรูห์มาติคและผู้ป่วยภูมิคุ้มกันบกพร่อง แม้เกณฑ์การวินิจฉัย GABSไม่ครบ **การมีน้ำมูก แผลในปาก ตาแดง มีผื่นขึ้น ท้องเสีย ไม่เจ็บคอหรือเจ็บเพียงเล็กน้อย เสียงแหบ ไม่มีไข้ เป็นอาการที่ช่วยเสริมว่าไม่ควรให้ยา
27
คอแดงทั่วๆ esp. ทอนซิล มีจุดเลือดออกที่เพดานอ่อน
GABHS คอแดงทั่วๆ esp. ทอนซิล มีจุดเลือดออกที่เพดานอ่อน
28
GABHS
29
GABHS
31
Viral คอแดง อาจพบแผลที่เพดานอ่อน posterior pharyngeal wall ,lymphoid follicleของเพดานและต่อมทอนซิล
32
โรคอื่นที่ต้องควรพิจารณาแยกโรค
โรคคอตีบ(Diphtheria) โรคหนองใน(Gonorrhea) เชื้อรา(Candidiasis)
33
Diphtheria
34
Ulcer Candidiasis
35
ยาปฏิชีวนะที่ใช้รักษาTonsillitis & Pharyngitis จากGABHS
ระยะเวลารักษา ขนาดยาในเด็ก ขนาดยาในผู้ใหญ่ 1.ยาที่แนะนำให้ใช้เป็นอันดับแรก Amoxicillin 10 วัน 50mg/kg/day แบ่งให้วันละ 1-3 ครั้ง ครั้งละ500 mg bid-tid 2.ถ้าแพ้Amoxicillin/Penicliin -Roxithromycin -Erythromycin 10วัน 5-8mg/kg/day bid ขณะท้องว่าง 30-50 mg/kg/day bid-qid ครั้งละ300mgแบ่งให้วันละ1-2ครั้ง
36
Bacterial & Viral
37
หูชั้นกลางอักเสบเฉียบพลัน Acute Otitis Media
38
Acute Otitis Media หูชั้นกลางอักเสบเฉียบพลัน
อาการ ไข้ เป็นหวัดนำมาก่อน ปวดหู มีdischargeไหลออกจากหู เด็กเล็กที่ร้องกวนไม่ทราบสาเหตุ หรือดึงหูบ่อยผิดปกติ +++ ต้องต้องส่องหูด้วยOtoscope เพื่อดูลักษณะเยื่อแก้วหู
39
หูชั้นกลางอักเสบเฉียบพลัน Acute Otitis Media(AOM)
ขุ่นทึบแสง Otoscopeภาวะการมีน้ำในหูชั้นกลาง แดง
40
หูชั้นกลางอักเสบเฉียบพลัน Acute Otitis Media(AOM)
เยื่อแก้วหูทะลุ เยื่อแก้วหูโป่ง
41
คำแนะนำสำหรับการรักษาAOM
1.ในเด็กอายุ< 2 ปี ควรให้ยาปฏิชีวนะทุกราย ร่วมกับยาแก้ปวด 2.เด็กที่อายุ ≥ 2 ปี -มีอาการปวดหูมาก หรือไข้สูงควรให้ยาปฏิชีวนะ ร่วมกับยาแก้ปวด -ไม่มีอาการปวดหู หรือปวดหูเล็กน้อย อาจพิจารณาให้ยาแก้ปวดและนัดติดตามอาการ ดู อาการภายใน 48 ชม. ถ้าอาการมากขึ้น ให้รักษาด้วยยาปฏิชีวนะ -ในกรณีที่ไม่สามารถนัดติดตามอาการได้ภายใน ชม. ให้พิจารณาให้ยาปฏิชีวนะตั้งแต่ เริ่มแรก ร่วมกับยาแก้ปวด **แนวทางการดูแลรักษาโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ชมรมโรคระบบหายใจเด็กและเวชบำบัดวิกฤตในเด็กแห่งประเทศไทย ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย
42
ยาปฏิชีวนะที่ใช้รักษาAOM
ขนาดยาในเด็ก (7 -10 day) ขนาดยาในผู้ใหญ่ (7 day) 1.ยาที่แนะนำให้ใช้เป็นอันดับแรก Amoxicillin 80-90mg/kg/day bid-tid ครั้งละ500mg tid หรือถ้าสงสัยเชื้อดื้อยา เพิ่มเป็น ครั้งละ 1000 mg tid-qid 2.ประเมินอาการภายใน48-72ชม. หากไข้สูง ปวดหูมาก เยื่อบุบวมแดง พิจารณาเปลี่ยนยา +- consult ENT -Amoxicillin/clavulanate -Levofloxacine 90/6.4 mg/kg/day bid เลือกใช้เฉพาะกรณีไม่มียาอื่น Moderate to severe ครั้งละ 875/125 mg bid หรือครั้งละ500/125mg tid 3.ถ้าแพ้amoxicillin/penicillin *แพ้แบบanaphylaxis/urticaria -Erythromycine -Azithromycine *ไม่แพ้แบบanaphylaxis -Cefdinir 40-50mg/kg/day 10mg/kg/day od 14 mg/kg/day bid Roxithromycin 300 mg 500 mg od 300 mg bid
43
ไซนัสอักเสบเฉียบพลัน Aute Rhinosinusitis
ไข้ ปวดศรีษะ คัดจมูก น้ำมูกเหลือง-เขียว เจ็บใบหน้าบริเวณไซนัส และpostnasal drip
44
ไซนัสอักเสบเฉียบพลัน Acute Rhinosinusitis
-เชื้อที่พบบ่อย H.influenzae 34 % -รองลงมา S.pneumoniae 17 % -Anaerobe 14.6 % -พบเชื้อดื้อยาที่ผลิตenzyme beta lactamase ทำให้ดื้อต่อamoxicilline * Bacteriologic profile of acute and chronic maxillary sinusitis. J Infect Dis Antimicrob Agents 2001;18:
45
ไซนัสอักเสบเฉียบพลัน Acute Rhinosinusitis
มีอาการของหวัดนานกว่า 10 วันโดยไม่เกี่ยวกับAR มีอาการของหวัด ไซนัสอักเสบนาน5-6วันแล้วอาการดีขึ้น แต่กลับมีอาการเลวลงโดยกลับมีไข้ ปวดศรีษะหรือมีน้ำมุกมากขึ้น เรียกว่า ป่วยรอบสอง(double sickening/double worsening) อาการรุนแรง เช่น ไข้สูง ร่วมกับfacial pain/postnasal drip /purulent discharge ต่อเนื่องอย่างน้อย3-4วัน
46
ยาปฏิชีวนะที่ใช้รักษาAcute Bacterial Rhinosinusitis
ขนาดยาในเด็ก (7-14วัน) ขนาดยานู้ใหญ่ (5-7วัน) 1.ยาที่แนะนำให้ใช้อันดับแรก Amoxicillin 40-50 mg/kg/day tid เด็กโต 90 mg/kg/day สงสัยติดH.influenzae 500 mg tid /สงสัยเชื้อดื้อยา เพิ่มเป็น 1000 mg tid-qid 2.ควรประเมินซ้ำ3-5 วัน ไม่ดีขึ้นพิจารณาเปลี่ยนยา Amoxiclillin/clavulanate 90/6.4 mg/kg/day bid ครั้งละ 875/125 mg bid/ 500/125 mg tid 3.ถ้าแพ้amoxicillin/penicillin -Cefdinir -Clarithromycin -Azithromycin 14 mg/kg/day bid 15 mg/kg/day 10 mg/kg/day od 300 mg bid 500 mg bid 500 mg od
47
Acute Bronchitis อาการทางคลินิก
อาการเริ่มต้นเหมือนเป็นหวัด ร่วมกับมีอาการไอเป็นอาการเด่น อาจไอนานหลายสัปดาห์ ไอมีเสมหะสีเหลือง เขียว ไม่ได้บ่งถึงการติดเชื้อ แบคทีเรีย > 95 % ไม่ได้มีสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรีย ยาปฏิชีวนะไม่ลดความรุนแรงและระยะเวลาของการไออย่างมีนัยสำค้ญ
48
Acute Bronchitis กรณีที่ให้ยาปฏิชีวนะอาจมีประโยชน์
ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเริ้อรัง(COPD) ที่มีacute exacerbation ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้ป่วยภูมิคุ้มกันบกพร่อง
49
ตัวชี้วัดในRI ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคติดเชื้อระบบทางเดิน หายใจช่วงบนและหลอดลมอักเสบเฉียบพลัน ในผู้ป่วย นอก ≤ 20 %
50
Acute Diarrhea ถ่ายอุจจาระเหลวกว่าปกติอย่างน้อย 3 ครั้งต่อวัน หรือถ่ายอุจจาระเป็นน้ำอย่างน้อย 1 ครั้ง โดย มีอาการไม่นานกว่า 2 สัปดาห์ หากมีอาการอาเจียนเป็นอาการเด่น มักเป็นจากโรคอาหารเป็นพิษ ซึ่งมีสาเหตุจากการกินสารพิษ ของแบคทีเรีย ที่ปนเปื้อนอยู่ในอาหาร จึงไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ ปี 2550 กรมควบคุมโรค รับรายงาน โรคอุจจาระร่วง 1,433,230 ราย พบโรคบิดจากเชื้อแบคทีเรีย (bacillary dysentery) ที่ควรใช้ยาปฏิชีวนะเพียงร้อยละ 0.3 โรคท้องร่วง ที่ไม่ควรใช้ยาปฏิชีวนะ ร้อยละ 98.7 โรคบิดอะมีบา ร้อยละ 0.2 โรคบิดไม่ทราบสาเหตุ ร้อยละ 0.8
51
Acute Diarrhea การให้ยาต้านจุลชีพควรให้เฉพาะกรณีเข้าข่ายดังต่อไปนี้
มีไข้ ตั้งแต่ 38 องศา ขึ้นไป และ อุจจาระมีเลือดเห็นได้ด้วยตาเปล่า หรือ ตรวจอุจจาระพบเม็ดเลือดแดง และ/หรือ เม็ดเลือดขาว Severe acute watery diarrheaและสงสัย Chorela ผู้ป่วยเสี่ยงสูงต่อSepsis – เด็ก < 3 เดือน,ผู้ป่วยมะเร็ง ,HIV ,Immunosuppressive, ผู้ป่วยโรคทางเดินอหารเรื้อรัง
52
ยาปฏิชีวนะที่ใช้รักษาAcute Diarrhea
กลุ่มสูงอายุ ภูมิคุ้มกันบกพร่อง ไข้สูง มีclinical Sepsis ให้ Ciprofloxacinหรือ Ceftriaxone 3-7 วัน -Ciprofloxacin oral เด็ก 15 mg/kg bid ,ผู้ใหญ๋ 500 mg bid -Ciprofloxacin ชนิดฉีด เด็ก 10 mg/kg/bid,ผู้ใหญ่ 500 mg bid -Ceftriaxone เด็ก mg.kg od ,ผู้ใหญ่ 1-2 gram od-bid ผู้ที่เป็น/สงสัย Shigellosis ให้ Norfloxacin 3-5 วัน -เด็ก mg/kg bid ขณะท้องว่าง -ผู้ใหญ่ 400 mg bid ขณะท้องว่าง
53
ยาปฏิชีวนะที่ใช้รักษาAcute Diarrhea
ผู้ที่สงสัยอหิวาตกโรคหรืออยู่ในช่วงระบาด ยาที่ใช้ Norfloxacine หรือ Doxycycline นาน 3 วัน -Norfloxacin เด็ก 5-10 mg/kg bid ขณะท้องว่าง ผู้ใหญ่ 400 mg bid ขณะท้องว่าง -Doxycycline เด็กโต วัยรุ่น ผู้ใหญ่ 100 mg bid Traveler’s Diarrhea –Campylobacter spp. -Erythromycin เด็ก 10 mg/kg qid 7 day ผู้ใหญ่ 500 mg bid 5 day -Azithromycin เด็ก 12 mg/kg D1 ,6 mg/kg D2-D5 od ผู้ใหญ่ mg od 3 day
54
ยาปฏิชีวนะที่ใช้รักษาAcute Diarrhea
ผู้ที่ตรวจพบ Entameoba histolytica จากอุจจาระใช้ metronidazole -เด็ก: mg/kd/day tid วัน พร้อมอาหาร -วัยรุ่นและผู้ใหญ่: mg tid วัน พร้อมอาหาร อุจจาระร่วงจากสารพิษของ Clostridium difficile อาจพบในผู้ป่วยที่เคยได้รับหรือกำลังได้ยาปฏิชีวนะ ชนิด broad spectrum หรือขณะอยู่ในรพใ ควรยืนยันการวินิจฉัยด้วยการตรวจสารพิษของ C. difficile จากอุจจาระ หากผู้ป่วยมีอาการรุนแรง พิจารณาใช้ metronidazole ขณะ รอผลตรวจ -เด็ก: 30 mg/kg/day qid วัน พร้อมอาหาร -ผู้ใหญ่: 250 mg qid หรือ 500 mg tid วัน พร้อมอาหาร ***ไม่ใช้ยาบรรเทาอาการอุจจาระร่วงที่มีส่วนผสมของยาปฏิชีวนะ furazolidone, nifuroxazide, pthalylsulfathiazole, neomycin หรือ colistin
55
ตัวชี้วัดในAcute Diarrhea
ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน ≤ 20 %
56
Fresh Traumatic Wound หมายถึง บาดแผลสดจาก อุบัติเหตุที่เกิดภายใน 6 ชั่วโมงก่อนได้รับการรักษา ผู้ป่วยนอกที่มีแผลสดจาก อุบัติเหตุส่วนมากไม่จำเป็นต้องใช้ยาปฏิชีวนะเพื่อ ป้องกันการติดเชื้อ
57
โอกาสติดเชื้อของบาดแผล
1.ลักษณะของบาดแผล -บาดแผลถูกวัตถุทิ่มตำ เป็นรูยากต่อการทำความสะอาด -บาดแผลที่มีเนื้อตายบริเวณกว้าง -บาดแผลที่มีสิ่งสกปรกติดอยู่ในบาดแผล -บาดแผลซึ่งสัมผัสสิ่งสกปรกที่มีแบคทีเรียจำนวนมาก เช่น อุจจาระ น้ำครำ มูลสัตว์ -บาดแผลจากการบดอัด -แผลที่เท้า -แผลที่ขอบหยึกหยัก(ขอบไม่เรียบ เย็บแผลให้ขอบชนได้ไม่สนิท) -แผลยาวเกิน 5 ซม. บาดเจ็บมาเกิน 6 ชม.
58
โอกาสติดเชื้อของบาดแผล
2.Host -Old Age >65 year -DM -Cirrhosis -Immunocompromise host -On immunosuppressive drugs -Peripheral vascular disease ผู้มีโอกาสติดเชื้อต่ำ คือผู้ที่มีภูมิต้านทานโรคปกติ แผลไม่มีสิ่งปน
59
โอกาสติดเชื้อของบาดแผล
ผู้ที่มีภูมิต้านทานโรคปกติ บาดแผลไม่มีสิ่งปนเปื้อน แผลขอบเรียบ มาถึงสถานพยาบาลเร็ว แผลขนาดเล็ก โอกาสติดเชื้อต่ำ **ASU มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อลดอัตราการใช้ยาปฏิชีวนะในผู้ที่มีโอกาสติดเชื้อต่ำ
60
กรณีใช้ยาปฏิชีวนะป้องกันการติดเชื้อในแผลสดจากอุบัติเหตุที่ไม่ใช่แผลจาก สัตว์กัด/คนกัด (ข้อใด ข้อหนึ่ง) 1. แผลขอบไม่เรียบ เย็บแผลได้ไม่สนิท 2. แผลยาวกว่า 5 ซม. 3. แผลจากการบดอัด เช่น แผลโดนประตูหนีบอย่างแรง 4. แผลลึกถึงกล้ามเนื้อ เอ็น หรือกระดูก 5. ผู้ป่วยภูมิคุ้มกันต่ำ เช่น อายุ >65 ปี เบาหวาน ตับแข็ง โรคพิษสุราเรื้อรัง หลอดเลือดส่วนปลายตีบ มะเร็ง ได้รับยากดภูมิคุ้มกัน
61
ยาปฏิชีวนะที่ใช้ พิจารณาให้ Tetanus toxoidร่วมด้วย Dicloxacillin
- เด็ก mg/kg/day qid (ไม่เกิน250 mg/ครั้ง) ขณะท้องว่าง - ผู้ใหญ่ mg qid ขณะท้องว่าง กรณีแพ้ Penicilin - Erythromycin syr mg/kg/day qid - Roxithromycin เด็ก BW <40 kg 5-8 mg/kg/day bid เด็กโต วัยรุ่น ผู้ใหญ่ 300 mg od /bid - Clindamycin เด็ก mg/kg/day tid-qid ผู้ใหญ่ 300 mg tid พิจารณาให้ Tetanus toxoidร่วมด้วย
62
กรณีให้ยาปฏิชีวนะป้องกันการติดเชื้อในแผลสดจากอุบัติเหตุที่มีลักษณะ ข้อใดข้อหนึ่ง ดังนี้
1. สัตว์กัด/คนกัด 2. มีเนื้อตายบริเวณกว้าง 3. มีสิ่งสกปรกติดอยู่ในแผลล้างออกไม่หมด 4. ปนเปื้อนสิ่งที่มีแบคทีเรียมาก เช่น อุจจาระ น้ำสกปรก
63
ยาปฎิชีวนะที่ใช้ Amoxiclave
-เด็ก : (คำนวณจาก amoxicillin): mg/kg/day tid (ไม่เกิน 250 มก./ครั้ง) พร้อมอาหาร -วัยรุ่นและผู้ใหญ่ : 375 mg tid หรือ 625 mg bid พร้อมอาหาร กรณีที่แพ้ Penicillin -เด็ก : Co-trimoxazol(คำนวณจาก trimethoprim) 8-10 mg/kg/day bid ร่วมกับ Clindamycin mg/kg/day tid-qid ทุก 6-8 ชั่วโมง หรือ ร่วมกับ Metronidazole mg/kg/day tid พร้อมอาหาร -ผู้ใหญ่ : Ciprofloxacin 500 mg bid ร่วมกับ Clindamycin 300 mg tid หรือ Metronidazole mg tid พร้อมอาหาร -พิจารณาให้ Tetanus toxoidร่วมด้วย -Rabies vaccine/Rabies immunoglobulin
64
กรณีไม่ใช้ยาปฏิชีวนะป้องกันการติดเชื้อในแผลสดจากอุบัติเหตุที่ไม่ใช่แผล จากสัตว์กัด/คนกัด และมีลักษณะต่อไปนี้ครบทุกข้อ 1. แผลขอบเรียบ ทำความสะอาดง่าย 2. แผลไม่ลึกถึงกล้ามเนื้อ เอ็น หรือกระดูก 3. ไม่มีเนื้อตาย 4. ไม่มีสิ่งสกปรกที่แผลหรือมีแต่ล้างออกง่าย 5. ไม่ปนเปื้อนสิ่งที่มีแบคทีเรียมาก เช่น อุจจาระ ปัสสาวะ น้ำสกปรก เศษอาหาร 6. เป็นผู้มีภูมิต้านทานโรคปกติ -ไม่ควรใช้ยาปฏิชีวนะเนื่องจากโอกาสติดเชื้อที่แผลประมาณ 1% -การทำความสะอาดบาดแผลและการดูแลบาดแผลอย่างเหมาะสมมีความ สำคัญที่สุดและเป็นการรักษาที่พอเพียง แล้ว -หากแผลมีลักษณะเลวลงหรือมีไข้หลังรักษา 2-3 วัน ควรแจ้งหรือกลับมาพบผู้รักษา
65
ตัวชี้วัดในFTW ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในบาดแผลสดจากอุบัติเหตุ ≤ 40 %
66
Antibiotic Prophylaxis in Vaginal Delivery of Normal Term Labor(APL)
หมายถึง การใช้ยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกันการติดเชื้อในหญิงคลอด ทารกครบกำหนด ทางช่องคลอดด้วยวิธีปกติ ซึ่งผู้คลอดเช่นนี้ ส่วนมากไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะป้องกัน การติดเชื้อหลังคลอด
67
Antibiotic Prophylaxis in Vaginal Delivery of Normal Term Labor(APL)
ข้อควรปฏิบัติและข้อควรหลีกเลี่ยง ไม่ควรใช้ยาปฏิชีวนะในหญิงคลอดปกติครบกำหนดทางช่องคลอด ทั้งนี้ กระบวนการทำหัตถการ เกี่ยวกับการคลอดและการดูแลบาดแผลอย่าง เหมาะสมมีความสำคัญที่สุด ยาปฏิชีวนะอาจมีประโยชน์ในรายที่มีการฉีกขาดของฝีเย็บระดับที่ 3 หรือ 4โดยใช้ยาฉีดIV ภายใน เวลาไม่เกิน 60 นาที ก่อนเย็บแผล ดังนี้ ก. Cefazolin 1-2 กรัม หรือ ข. Ampicillin-sulbactam 3 กรัม หรือ ค. หากแพ้ penicillin ควรใช้ Clindamycin mg หากหญิงหลังคลอดมีแผลฝีเย็บอักเสบติดเชื้อหรือติดเชื้อในอุ้งเชิงกราน ควรแจ้งหรือกลับมาพบ ผู้รักษา
68
ตัวชี้วัดใน APL ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในหญิงคลอดปกติครบกำหนด ทางช่อง คลอด ≤ 10 %
69
Thank you
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.