ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดย리나 심 ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
อนุพันธ์ของเวคเตอร์ อนุพันธ์ธรรมดาของเวคเตอร์ (Ordinary of Vectors) 1.1 ให้ ขึ้นกับตัวแปร u เพียงตัวเดียว ดังนั้น
2
Ex.1 a) จงหา และ ถ้า b) จงหา และ ถ้า c) ให้ จงหา และ d) ให้ จงหา
3
ถ้า เป็นเวคเตอร์ตำแหน่งของวัตถุ P ที่กำลัง
เคลื่อนที่ตามเวลา t แล้ว ความเร็ว และ ความเร่งของวัตถุ
4
Ex.2 วัตถุเคลื่อนที่ตามเส้นโค้ง ที่มีสมการพาราเมตริกซ์
เมื่อ แทนเวลา จงหาความเร็วและความเร่งเมื่อเวลา ใดๆ จงหาองค์ประกอบของความเร็ว และความเร่งที่เวลา
5
1.2 เส้นโค้งในอวกาศ ถ้า เป็นเวคเตอร์ ตำแหน่งของจุด P(x,y,z) แล้ว เมื่อ u เปลี่ยนค่า จุด P จะ เคลื่อนที่เป็นเส้นโค้งในอวกาศ เวคเตอร์ที่สัมผัสเส้นโค้งนั้น ถ้า S เป็นความยาวเส้นโค้ง เวคเตอร์ 1 หน่วย
6
Ex.3 1) กำหนดให้ เป็นเวคเตอร์คงที่ จงแสดงว่า
ตั้งฉากกับอนุพันธ์ของ เมื่อขนาดของ อนุพันธ์ ไม่เป็นศูนย์ 2) ให้ C เป็นเส้นโค้งของเวคเตอร์ฟังก์ชัน ซึ่ง จงหาสมการเส้นสัมผัสของ เส้นโค้งที่จุด t=1
7
1.3 ความยาวเส้นโค้งในอวกาศ
การหาเวคเตอร์หนึ่งหน่วยที่สัมผัสเส้นโค้งอาจหาจาก (กฎลูกโซ่) หรือ (เวคเตอร์ 1 หน่วย)
8
ดังนั้น ความยาวเส้นโค้ง
9
Ex.4 จงหาเวคเตอร์หนึ่งหน่วยที่สัมผัสเส้นโค้ง
ที่จุดใดๆ
10
Ex.5 จงหาความยาวของเส้นโค้ง
ระหว่าง และ
11
1.4 สูตรการหาอนุพันธ์ของเวคเตอร์
“ฟังก์ชัน สเกลลาร์หรือเวคเตอร์) ที่หาอนุพันธ์ได้ จำเป็นต้องต่อเนื่อง แต่บทกลับไม่จริง” ถ้า เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องที่หาอนุพันธ์ของตัวแปร สเกลลาร์ u และ เป็นสเกลลาร์ แล้ว
13
อนุพันธ์ย่อยของเวคเตอร์
(Partial Derivative of Vector) 2.1 การหาอนุพันธ์ย่อย ถ้า เป็นเวคเตอร์ขึ้นกับตัวแปรมากกว่า 1 ตัว เช่น มี 3 ตัวแปร คือ x,y,z ได้ อนุพันธ์ย่อยของ เทียบกับ x คือ อนุพันธ์ย่อยของ เทียบกับ y คือ อนุพันธ์ย่อยของ เทียบกับ z คือ
14
อนุพันธ์ย่อยอันดับสูงๆ เช่น
เป็นต้น สูตรในการหาอนุพันธ์ย่อยเช่นเดียวกับ อนุพันธ์ธรรมดา
15
Ex.6 จงหา ที่จุด (1,2,-1) เมื่อ
และ
16
Ex.7 กำหนดให้ จงหา
17
2.2 ดิฟเฟอร์เรนเชียลของเวคเตอร์ มีสูตรดังนี้
ถ้า แล้ว 2) 3) 4) ถ้า แล้ว
18
Ex.8 จงหาเวคเตอร์ 1 หน่วยที่ตั้งฉากกับผิว
เมื่อ a > 0
19
Ex.9 จงหาสมการของระนาบที่สัมผัสผิว
ที่จุด (1,-1,2)
20
เรขาคณิตเชิงอนุพันธ์
ความยาว นิยาม ความโค้ง (Curvature) ของส่วนโค้ง คืออัตราการเปลี่ยนแปลงของมุม เทียบกับความยาวของส่วนโค้ง
21
จากรูป ดังนั้น เรียกว่ารัศมีความโค้ง
22
ความโค้งน้อย รัศมีมาก
ความโค้งมาก รัศมีน้อย
23
เรขาคณิตเชิงอนุพันธ์
ถ้าโค้ง C แทนด้วยสมการ และ S เป็นความยาวเส้นโค้งที่วัดจากจุดคงที่ เวคเตอร์ 1 หน่วยที่สัมผัสเส้นโค้ง C Curvature ของเส้นโค้ง C ซึ่งมีทิศทาง ตั้งฉากกับโค้งที่จุดนั้นๆ เมื่อ = ความโค้ง (Curvature) ของโค้งที่จุดนั้นๆ
24
= เวคเตอร์แนวฉากมุขสำคัญ ขนาด 1 หน่วย
(Principle Normal) รัศมีความโค้ง (Radius of Curvature) เวคเตอร์คู่แนวฉาก (Binormal) ของเส้นโค้ง
25
สูตรของ เฟรอเนต์-แซร์เรต์ แสดงความสัมพันธ์
ของ 3 เวคเตอร์ เมื่อ = ความบิด (Torsion) เป็นสเกลลาร์ = รัศมีความบิด (Radius of Torsion)
26
ระนาบต่างๆ 1. ระนาบสัมผัสประชิด (Osculating Plane) 2. ระนาบแนวฉาก (Normal Plane) 3. ระนาบเรคติไฟ (Rectifying Plane) Osculating Plane Rectifying Plane Normal Plane
27
Ex. จงวาดรูปเส้นโค้ง และจงหา เวคเตอร์ 1 หน่วยสัมผัสเส้นโค้ง เวคเตอร์แนวฉากมุขสำคัญ , ความโค้ง , รัศมีความโค้ง เวคเตอร์คู่แนวฉาก (Binormal) , ความบิด , รัศมีความบิด
28
รูป Helix
29
Ex. ให้เส้นโค้ง จงหา ความโค้ง (Curvature ) ความบิด (Torsion ) เวคเตอร์หนึ่งหน่วยสัมผัสเส้นโค้ง เวคเตอร์แนวฉากมุขสำคัญขนาด 1 หน่วย และเวคเตอร์คู่แนวฉาก เมื่อ t=1 สมการระนาบสัมผัสประชิด (Osculating Plane) ระนาบแนวฉาก (Normal Plane) และระนาบเรคติไฟ (Rectifying Plane) เมื่อ t=1
30
Ex. จงแสดงว่า
31
ความเร่ง (Acceleration)
33
จงหาอัตราเร่งตามแนวสัมผัส และอัตราเร่งตามแนวฉาก ณ เวลาใดๆ
Ex การเคลื่อนที่ของวัตถุตามเวลา t ใดๆ กำหนดด้วยสมการ จงหาอัตราเร่งตามแนวสัมผัส และอัตราเร่งตามแนวฉาก ณ เวลาใดๆ
34
เวคเตอร์
37
ลองทำดู!!!! 1. ถ้า และ จงหา 2. จงหาเวคเตอร์หนึ่งหน่วยสัมผัสเส้นโค้ง เมื่อ t=1
38
ลองทำดู!!!! 3. จงหาความยาวของเกลียว ในช่วง ถ้าวัตถุเคลื่อนที่ตามเส้นโค้ง แล้ว จงแสดงว่าความเร่ง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.