งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 5 การวางแผนโครงการ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 5 การวางแผนโครงการ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 5 การวางแผนโครงการ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ

2 ความสำคัญของการวางแผนโครงการ
การวางแผนโครงการ (Project planning) คือ ความพยายามที่จะคาดคะเนเวลาและค่าใช้จ่ายที่จะใช้ในการดำเนินงานโครงการใดโครงการหนึ่ง นอกจากนี้ยังรวมถึงผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการ การกำหนดขั้นตอนในการทำงาน กิจกรรมที่จะต้องทำ เวลาที่ใช้ในแต่ละกิจกรรม รวมทั้งบุคลากรที่เหมาะสมในแต่ละกิจกรรมด้วย สรุปความสำคัญของการวางแผนโครงการดังนี้ การวางแผนโครงการอย่างเป็นระบบ ทำให้การใช้ทรัพยากรที่มีจำกัดเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยอาศัยความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการ การวางแผนโครงการเป็นระบบย่อยระบบหนึ่งของการบริหารโครงการ ซึ่งต้องเกี่ยวพันกับระบบย่อยหลายๆ ระบบ การวางแผนโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้โครงการบรรลุตามวัตถุประสงค์ภายในระยะเวลาที่กำหนดและภายใต้กรอบงบประมาณ โดยใช้วิธีการวางแผนแบบมีโครงสร้าง ในการดำเนินงานโครงการตามแผน อาจเกิดเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิด ซึ่งกิจกรรมและผลผลิตของโครงการที่เกิดขึ้นย่อมแตกต่างจากที่คาดหวัง แต่การวางแผนโครงการก็ยังจำเป็นเนื่องจากทำให้สามารถตัดสินใจริเริ่มโครงการจัดสรรทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพแล้ว ทำให้สามารถจัดสรรทรัพยากรใหม่ได้ในตลอดระยะเวลาของโครงการ

3 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับแผนโครงการ
โครงการที่ได้รับการจัดทำข้อเสนอแนะและมีการตัดสินใจให้ดำเนินโครงการ ต้องจัดทำแผนดำเนินงาน (Plan of execution) สำหรับโครงการนั้นๆ เพื่อให้การวางแผนโครงการเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล ผู้วางแผนต้องคำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้ ข้อมูลที่จำเป็นสำหรับการวางแผน การมีส่วนร่วมในโครงการ เพื่อให้การวางแผนโครงการเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล ผู้วางแผนโครงการจะต้องคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ ที่มีความสำคัญของการวางแผนโครงการและการดำเนินโครงการดังนี้ ภาพรวมของแผน วัตถุประสงค์ วิธีการดำเนินงาน ลักษณะของสัญญา กำหนดการ ทรัพยากร บุคลากร วิธีการประเมิน ปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้น

4 กระบวนการวางแผนโครงการ
ระบุความ ต้องการ ของ ผู้ใช้บริการ/ ผู้รับบริการ กำหนด วัตถุประสง ค์/ เป้าหมาย ของ โครงการ กำหนดสิ่ง ที่เป็น ผลผลิต/ บริการ ของ โครงการ มอบหมาย งาน กำหนด งบประมา ณโครงการ กำหนดกา รไหล ของงาน และ กำหนดกา ร กำหนด งาน 1 2 3 7 6 5 4

5 ประเด็น / วันที่ เห็นชอบโดย........ องค์การ / แผนก / ประเภทของบุคคล
แผนภูมิความรับผิดชอบโครงการ โครงการ X =ปฏิบัติงาน D =ตัดสินใจโดยลำพัง d =ตัดสินใจรวม P =ควบคุมามก้าวหน้า T =จัดการด้านสายงาน C =ต้องให้คำปรึกษา I =ต้องให้ข้อมูล A =ต้องให้คำแนะนำ การติดตามโครงการ ประเด็น / วันที่ เห็นชอบโดย องค์การ / แผนก / ประเภทของบุคคล งาน ชม/วัน/สัปดาห์ ระยะเวลา 6 เดือน ลำ ดับ เป้าหมาย ผู้บริหารโครงการ หัวหน้า ทีม สมาชิก ฝ่ายสนับ สนุน คณะ กรรม การ ผู้ควบคุมโครงการ 1 2 3 4 5 6 7 กำหนดแผน PX X I d D สร้างโครงข่ายระดับสูง สร้างกำหนดการของกิจกรรม DP ทำโครงข่ายให้เป็นปัจจุบัน P C ส่งรายการของงาน ดำเนินงาน ส่งเอกสารกลับ ประชุมทบทวนกิจกรรม ระบุกิจกรรมที่เบี่ยงเบน - ฟื้นฟูแผน รายงานความก้าวหน้า ตรวจสอบความก้าวหน้า ประชุมความก้าวหน้าของแผน กำหนดความเบี่ยงเบน DX นำแผนกลับมาพิจารณาใหม่ ส่งรายงานความก้าวหน้าของแผน เห็นชอบความก้าวหน้า

6 ซึ่งประกอบด้วย 5 ขั้นตอน พิจารณาหรือกำหนดปัญหา
การปฏิบัติโครงการเกิดประสิทธิภาพสูงสุด แผนการดำเนินงานหรือแผนยุทธวิธีเป็นกระบวนการแปรเปลี่ยนสิ่งที่โครงการต้องการทั้งหมดให้เป็นกลุ่มงานต่างๆ ตามลำดับ ด้วยหลักเหตุผล ซึ่งประกอบด้วย 5 ขั้นตอน พิจารณาหรือกำหนดปัญหา กำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายของโครงการ การกำหนดกิจกรรมที่จะใช้ปฏิบัติโครงการ การลำดับความสำคัญของกิจกรรมที่จะใช้ปฏิบัติโครงการ กำหนดแผนปฏิบัติโครงการ

7 เทคนิคการวางแผนโครงการ
เทคนิคซีพีเอ็ม และเพิร์ทเป็นประโยชน์ต่อการวางแผนโครงการ ดังนี้ ผู้วางแผนและผู้เกี่ยวข้องมีเวลาคาดคะเนถึงปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นในการปฏิบัติงาน และหาทางแก้ไขปัญหาเหล่านั้นได้ล่วงหน้า ผู้ปฏิบัติงานไม่ต้องกังวลกับการวางแผน หลังจากวางแผนและบันทึกข้อมูลของโครงการไว้ในรูปโครงข่ายแล้ว ขณะดำเนินงานตามแผนใช้เวลาปรับปรุงแก้ไขโครงข่ายให้ดีขึ้น ระบบการติดตามและควบคุมโครงการของซีพีเอ็มและเพิร์ท มีประสิทธิภาพในการวิเคราะห์รายละเอียดความล่าช้าที่เกิดขึ้นในกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งในขณะปฏิบัติงาน ทำให้แก้ไขปัญหาได้ถูกต้อง และช่วยควบคุมการปฏิบัติงานตามแผน ผู้วางแผนสามารถคาดคะเนระยะเวลาที่ต้องใช้สำหรับกิจกรรมโครงการทั้งหมด ผู้วางแผนสามารถทราบจำนวนทรัพยากรต่างๆ ที่ต้องใช้ตามระยะเวลาตั้งแต่เริ่มโครงการจนเสร็จสิ้นโครงการ ทำให้มีการใช้ทรัพยากรที่มีอย่างจำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด สายทางวิกฤต ซึ่งเป็นลำดับความต่อเนื่องของกิจกรรมที่ไม่มีความยืดหยุ่นในเรื่องเวลาและทรัพยากรที่เหลือใช้สำหรับทำให้เสร็จตามเวลาที่คาดหวัง ถ้าเหตุการณ์นั้นไม่ได้รับการจัดการอย่างรอบคอบ

8 จำนวนวันของงานที่ต้องปฏิบัติ
เทคนิคการวางแผนโครงการ มีดังนี้ แผนภูมิของแกนท์ (Gantt chart) สำหรับการจัดงานแก่เครื่องจักรในการซ่อมบำรุงรถบรรทุก สถานีที่ทำงาน จำนวนวันของงานที่ต้องปฏิบัติ 4 21 35 44 55 1.งานโลหะ A B C D E 12 16 42 2.งานระบบอิเล็กทรอนิกส์ 5 24 25 32 3.งานพ่นสี 26 4.งานระบบไฮดรอลิคส์

9 เทคนิคการวางแผนโครงการ
เทคนิคเพิร์ท(เทคนิคการทบทวนและการประเมินค่างาน) และซีพีเอ็ม(วิธีวิถีวิกฤต) มีขั้นตอนพื้นฐานที่สำคัญ คือ ทำการกำหนดโครงการและเตรียมโครงสร้างแยกย่อยของงานออกมา ความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมและเลือกกิจกรรมที่ต้องทำก่อนและหลัง จากนั้นจึงวาดเครือข่ายเชื่อมแต่ละกิจกรรมทำการกำหนดเวลาและต้นทุนในแต่ละกิจกรรมและคำนวณเส้นทางที่ใช้เวลายาวนานที่สุด โดยเทคนิคเพิร์ทและซีพีเอ็มมีวัตถุประสงค์และมีวิธีคิดที่คล้ายกัน โดยเพิร์ทต้องมีการประเมินความน่าจะเป็นหรือโอกาสของการเกิดเหตุการณ์ขึ้นที่ผู้บริหารสามารถนำไปใช้ในการหามูลค่าค่าคาดหวัง และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนซีพีเอ็มมีสมมติฐานว่าผู้บริหารจะต้องทราบถึงเวลาของแต่ละกิจกรรมที่จะแล้วเสร็จ จากนั้นจึงจะสามารถกำหนดกิจกรรมต่อเนื่องได้ต่อไป

10 ความแตกต่างระหว่างซีพีเอ็มกับเพิร์ท
ความแตกต่างด้าน เพิร์ท (PERT) ซีพีเอ็ม (CPM) จุดเน้นความสำคัญ ต้องการเน้นความสำคัญของเหตุการณ์ที่มิใช่งานย่อยไม่ทราบรายละเอียดเกี่ยวกับเวลา ทรัพยากรและค่าใช้จ่ายของงานซึ่งเปลี่ยน แปลงบ่อยๆ เน้นความสำคัญของกิจกรรมหรืองานย่อย ลักษณะของโครงการ ใช้ปรับปรุงวิธีการวางแผนงานและการประเมินกับงานวางแผนโครงการใหม่ที่ผู้วางแผนไม่เคยมีประสบการณ์ในงานนั้นๆ มาก่อน ใช้กับโครงการที่ผู้วางแผนมีประสบการณ์ในการทำงานนั้นๆ มาก่อนเป็นอย่างดี ลักษณะของแผนผังข่ายงาน ใช้แผนผังข่ายงานในระบบกิจกรรมอยู่บนลูกศร การหาค่าเวลาของกิจกรรม เวลาของแต่ละงานไม่แน่นอน คือ มีการประมาณเวลาถึง 3 ค่า ต้องอาศัยทฤษฎีความน่าจะเป็นในการคำนวณเวลาด้วยใช้ปรับปรุงแผนและประเมินงานใหม่ๆ เวลาของแต่ละงานต้องแน่นอน คือ มีการประมาณเวลาเพียงค่าเดียว กำหนดเวลาของงานโดยใช้สถิติต่างๆ ของงานชนิดเดียวกันหรือใช้มาตรฐานที่ได้กำหนดไว้แล้ว การวิเคราะห์ทรัพยากร มุ่งความสำคัญไปที่เหตุการณ์ เน้นความสำคัญที่งานย่อยหรือกิจกรรมจึงต้องทราบรายละเอียดเกี่ยวกับเวลา ทรัพยากร และค่าใช้จ่ายของแต่ละงาน

11 หลักการเขียนโครงข่าย
 โหนด (Node) แทนเหตุการณ์หรืองาน  เส้นลูกศร (Line arrow) แทนกิจกรรม เส้นลูกศรประ แทนกิจกรรมสมมติหรือ กิจกรรมหุ่น (Dummy activity)

12 การวางแผนโครงการด้วยเทคนิคซีพีเอ็มมีขั้นตอนดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 แยกรายละเอียดเกี่ยวกับงานต่างๆ ที่สร้างขึ้นเป็นโครงการออกเป็นงานย่อยๆ ก่อนจากนั้นจึงผูกความสัมพันธ์ของงานตามลำดับก่อนหลัง ขั้นตอนที่ 2 ประมาณเวลาและทรัพยากรที่ต้องใช้ในการทำกิจกรรมต่างๆ การประมาณเวลาต้องอาศัยข้อสมมติฐานเบื้องต้นเกี่ยวกับกำลังคนและความพร้อมเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่มีอยู่ รวมทั้งการคัดเลือกคนให้เหมาะสมกับงาน ขั้นตอนที่ 3 กำหนดเวลางานโครงการและทำการคำนวณเวลาต่างๆ โดยผู้วางแผนต้องทราบข้อมูลการคำนวณและกำหนดเวลางานโครงการ สัญลักษณ์ที่ใช้ในการคำนวณ ขั้นตอนที่ 4 จัดสรรทรัพยากร การที่โครงการจะกำหนดเวลาของงานแต่ละงานได้อย่างเหมาะสมจะต้องพิจารณาจำนวนทรัพยากรที่มีอยู่หรือที่สามารถจัดหามาได้หรือที่จะได้รับการสนับสนุน ขั้นตอนที่ 5 ควบคุมโครงการ ในระหว่างดำเนินงานโครงการจะต้องมีการควบคุมติดตามผลการดำเนินโครงการ โดยการนำผลงานที่เกิดขึ้นจริงตามกำหนดเวลาที่ได้วางไว้แล้วทำการเปรียบเทียบกับผลงานที่คาดหวังไว้ล่วงหน้า

13 ตัวอย่างโรงงานบุหลันปรุงรส ได้ตัดสินใจที่จะนำเครื่องจักรใหม่เข้ามาติดตั้งแทนเครื่องจักรเก่าที่ถูกใช้งานมาหลายปีแล้ว สำหรับการติดตั้งเครื่องจักรใหม่นี้สถานที่ที่จะติดตั้งเครื่องจักรแตกต่างไปจากเครื่องจักรเก่า อีกทั้งยังต้องการเนื้อที่ที่จะขยายอาคารเดิมที่มีอยู่ออกไป โดยมอบหมายให้เป็นหน้าที่ของวิศวกรโยธาของโรงงานทางวิศวกรโยธาได้ประมาณเวลาที่ต้องใช้ในการต่อเติมขยายอาคารเดิมออกไปเป็นระยะเวลา 6 วัน หลังจากนั้นเป็นการปรับปรุงสถานที่ให้พร้อมที่จะติดตั้งเครื่องจักรใหม่ อีก 21 วัน อย่างไรก็ตามการที่จะต่อเติมขยายอาคารเดิมออกไปนั้นจะต้องทำหลังจากที่ได้รื้อถอนเครื่องจักรเก่าออกจากอาคารเรียบร้อยแล้ว ซึ่งในการรื้อถอนนี้ใช้เวลา 4 วัน ชื่องาน รายละเอียดของงาน จำนวนวันทำงาน งานที่ต้องทำก่อน A B C D P G H I J K L M N จัดซื้อเครื่องจักรใหม่ ขนย้ายเครื่องจักรใหม่จากโรงเก็บไปสถานที่ติดตั้ง รื้อถอนเครื่องจักรเก่า ขนย้ายเครื่องจักรเก่าไปที่โรงเก็บ สร้างสถานที่สำหรับติดตั้งเครื่องจักรขึ้นใหม่ ติดตั้งเครื่องจักร ตรวจสอบแนวระดับเครื่อง เดินท่อและสายไฟ ทำความสะอาดและหล่อลื่นเครื่องจักร ทดสอบและลองเดินเครื่อง ตรวจสอบเครื่องจักรด้านเทคนิคต่างๆ ทดสอบเดินเครื่อง ทาสีเครื่องจักร 1 4 - 6 3 9 2 P, J G, I L, M

14 J 2 1 3 4 5 6 7 8 9 10 11 P G H K L N D I C A B M

15 ES = 4 EF = 13 D 1 2 4 I 9 C 4 ES = 4 EF = 13 LS = 20 LF = 21 ES = 0 EF = 4 LS = 4 LF = 13 LS = 0 LF = 4 ES = 6 EF = 9 LS = 10 LF = 13 LS = 4 LF = 10 H 1 ES = 0 EF = 6 K 4 L 3 N 3 P 6 11 24 6 13 10 21 1 5 6 10 7 14 8 18 G 3 ES = 18 EF = 21 ES = 21 EF = 24 LS = 21 LF = 24 ES = 13 EF = 14 LS = 13 LF = 14 ES = 14 EF = 18 LS = 14 LF = 18 J 2 LS = 18 LF = 21 A 1 ES = 2 EF = 4 M 2 ES = 0 EF = 1 LS = 6 LS = 7 ES = 18 EF = 20 LS = 19 LF = 21 LS = 8 LS = 8 LF = 10 ES = 1 EF = 2 LS = 7 LF = 8 3 1 7 9 20 21 4 2 8 B 1

16 วิธีการวางแผนโครงการด้วยเพิร์ท
ขั้นตอนการวางแผนโครงการด้วยเพิร์ทในส่วนนี้จะใช้ข้อมูลจากโครงการจัดตั้งศูนย์ความร่วมมือในการอบรมอาชีพให้เยาวชนใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นตัวอย่างประกอบการอธิบาย ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 นำงานมาแตกเป็นกิจกรรมตามประสบการณ์และหลักการเขียน โดยจัดลำดับขั้นตอนและความสัมพันธ์ของงานต่างๆ

17 งานที่ต้องการทำให้เสร็จก่อน
รายละเอียดของงาน งานที่ต้องการทำให้เสร็จก่อน L รวบรวมข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับศักยภาพของเยาวชนใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ - M เตรียมวิเคราะห์ความต้องการอาชีพของเยาวชนใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ N จัดตั้งองค์การเกี่ยวกับการสร้างอาชีพใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ P สร้างทีมงาน Q ประชุมเพื่อหารือผู้ซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้อง R จัดทำข้อเสนอโครงการ S ประชุมวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการฯ ด้านต่างๆ T อนุมัติโครงการฯ S, R U ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ P, T V ดำเนินงานโครงการฯ U, Q W ประเมินผลโครงการฯ

18 ข้อมูลจากตารางที่ 5.7 นำมาสร้างเป็นโครงข่ายแทนโครงการฯ
ได้ดังภาพที่ 5.6 S 1 5 Z R 2 4 6 T 2 N 4 7 P 9 U 4 V 2 W 2 M 4 Q 16 L 4 2 3 8 9 10 1

19 การประมาณค่าเวลาทำงานเป็น 3 ค่า ได้แก่
Te = สมมติว่าเวลางานแต่ละงานไม่สามารถกำหนดได้แน่นอน แต่สามารถประมาณเวลางานได้ 3 ค่า ในรูปของความน่าจะเป็นตามทฤษฎีการแจกแจงความน่าจะเป็นของเวลาแบบเบต้า (beta) การประมาณค่าเวลาทำงานเป็น 3 ค่า ได้แก่ ระยะเวลาที่เร็วที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ในการทำแต่ละกิจกรรมที่ต้องการให้เสร็จเร็วที่สุด ซึ่งเป็นเวลาในแง่ดี (optimistic time แทนสัญลักษณ์ a) ระยะเวลาที่คิดว่างานจะมีโอกาสเสร็จมากที่สุดหรือเป็นไปได้มากที่สุด ในการทำให้ แต่ละกิจกรรมแล้วเสร็จ (most likely time แทนด้วยสัญลักษณ์ m) ระยะเวลาที่นานที่สุดในการทำแต่ละกิจกรรมให้เสร็จสิ้นไป ถ้ามีข้อผิดพลาดในการทำให้ กิจกรรมสำเร็จ (pessimistic time แทนด้วยสัญลักษณ์ b)

20 ในการคำนวณเวลาเฉลี่ย (expected or mean time) และ
ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S) ของเวลาการทำงานสามารถคำนวณได้จากสูตรดังนี้ ส่วนค่าความแปรปรวน (variance) เวลาเฉลี่ย (average time) Te V = 2 = ถ้าต้องการจะหาความน่าจะเป็นไปได้ของโครงการที่เสร็จสิ้นในวันที่ D สามารถหาได้จากสูตรดังนี้ คือ (Chase, Aquilano, and Jacobs, 2001, p.79) Z = =

21 งาน (a) (วัน) (m) (วัน) (b) (วัน)
เสร็จได้เร็วที่สุด (a) (วัน) เสร็จได้ค่อนข้างมาก (m) (วัน) เสร็จได้ช้าที่สุด (b) (วัน) L 3 4 5 M 2 10 N P 8 18 Q 17 20 R 1 S T U V W

22 งาน a m b [(a+4m+b)/6] = te [(b-a)/6]2 = Vte L 3 4 5 0.11 M 2 10 1.80 N 0.00 P 8 18 9 5.44 Q 17 20 16 4.00 R 1 S T U V W

23 ES = 12 EF = 13 LS = 17 LF = 18 5 13 18 S 1 R 2 6 11 18 4 12 16 T 2 ES = 18 EF = 20 LS = 18 LF = 20 ES = 12 LS = 16 EF = 18 LF = 18 ES = 8 EF = 12 LS = 12 LF = 16 N 4 7 17 20 ES = 20 EF = 24 LS = 20 LF = 24 L 4 M 4 ES = 8 LS = 11 EF = 17 LF = 20 P U 4 1 2 4 V 2 9 26 3 8 Q 16 8 24 W 2 10 28 9 26 ES = 0 LS = 0 EF = 4 LF = 4 ES = 4 LS = 4 EF = 8 LF = 8 ES = 8 LS = 8 EF = 24 LF = 24 ES = 24 LS = 24 EF = 26 LF = 26 ES = 26 LS = 26 EF = 28 LF = 28

24 ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานของสายงานวิกฤต = 2.45
หาสายงานวิกฤตด้วยวิธีเดียวกับพีซีเอ็ม ซึ่งได้งานต่างๆ ดังนี้ จากตารางที่ 5.10 งานที่เป็นงานวิกฤตคือ L, M, Q, V, W (LMQVW) เวลารวมของสายงานวิกฤต (T) L + tM + tQ + tV + tW = = 28 วัน ความแปรปรวนของสายงานวิกฤต = = = วัน ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานของสายงานวิกฤต = 2.45 =

25 โค้งการแจกแจงแบบปกติแสดงความน่าจะเป็นหรือ
โอกาสในการแล้วเสร็จของโครงการ T 0.68 0.95 0.997 ความน่าจะ เป็น

26 เทคนิคการจัดการสมัยใหม่ ทัศนคติของ ผู้ปฏิบัติงาน
การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์การ (Total Quality Management : TQM) ปัจจัย 5 ประการของกระบวนการบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์การโครงการ ทัศนคติของ ผู้ปฏิบัติงาน คุณภาพของ กระบวนการบริหาร การประกัน คุณภาพ การ ควบคุม คุณภาพของ ผลผลิต ผลิตภัณฑ์/บริการ

27 การบริหารคุณภาพด้วย ซิก ซิกม่า (Six sigma)
แนวทางการปฏิบัติของ ซิก ซิกม่า เพื่อการบรรลุความสำเร็จขององค์การในการเพิ่มคุณภาพ คือ การกำหนดเป้าหมายจากนั้นจึงใช้เป้าหมายดังกล่าวมาเป็นกรอบในการปฏิบัติ การวัดความสามารถของกระบวนการการทำงาน การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา การปรับปรุงโดยมุ่งเน้นที่ต้นเหตุของปัญหาและการควบคุมกระบวนการที่มีผลต่อคุณภาพ เป้าหมายของการบริหารคุณภาพด้วย ซิก ซิกม่า คือ การพัฒนาและควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่พยายามหาข้อผิดพลาดจากการกำหนดรูปแบบที่เป็นมาตรฐาน และตอบสนองตามหน้าที่ในองค์การ

28 การวัดแบบสมดุล (Balanced scorecard)
ด้านการเงิน เพื่อประสบผลสำเร็จด้านการเงิน ควรมี ผลงานปรากฏต่อผู้ถือหุ้นอย่างไร ด้านการเรียนรู้และการเติบโต เพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามวิสัยทัศน์ทำ อย่างไรจึงจะรักษาความสามารถ เพื่อการเปลี่ยนแปลงและปรับปรุงให้ดีขึ้น ด้านลูกค้าและ การตลาด เพื่อให้บรรลุผล สำเร็จตาม วิสัยทัศน์ควรมี ผลงานให้ปรากฏ ต่อลูกค้า ด้านกระบวนการ บริหารภายใน เพื่อให้ผู้ถือหุ้นและ ลูกค้าพอใจ จำเป็นต้องมีโครงการ ริเริ่มที่เป็นเลิศ ทางด้านใดบ้าง วิสัยทัศน์ และกล ยุทธ์

29 ขอขอบคุณที่สนใจฟัง...


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 5 การวางแผนโครงการ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google