งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เมืองไทยกับกองทุน การเงินระหว่างประเทศ (IMF)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เมืองไทยกับกองทุน การเงินระหว่างประเทศ (IMF)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เมืองไทยกับกองทุน การเงินระหว่างประเทศ (IMF)

2 เมื่อสังคมเศรษฐกิจไทยล้มละลาย
รัฐบาลไทยกับเงินกู้ฉุกเฉินจาก IMF เหตุใดรัฐบาลไทยจึงต้องขอเงิน ฉุกเฉินจาก IMF เงินกู้ฉุกเฉินจาก IMF กับอธิปไตยใน การกำหนดนโยบาย IMF ปีศาจหรือนักบุญ? IMF Policy Conditional ties

3 เมื่อสังคมเศรษฐกิจไทยล้มละลาย
พลเอก ชวลิต  ยงใจยุทธ รัฐบาลไทยสมัยนั้น ประกาศลอยตัวค่าเงินบาท ตัดการอิงสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ ผลทำให้ค่าเงิน บาทลดลงอย่างมาก วิกฤตินี้ก็ขยายสู่ประเทศส่วนใหญ่ในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งญี่ปุ่นอีกด้วย ส่งผลให้ ราคาสินทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ มีการ ปรับตัวลดลง ส่วนภาคเอกชนก็มีหนี้สินเพิ่มขึ้น ประเทศที่ได้รับผลกระทบมากที่สุดนั้น ได้แก่ เกาหลีใต้ ไทย และอินโดนีเซีย

4 สาเหตุของวิกฤติเศรษฐกิจต้มยำกุ้ง
1. หนี้ต่างประเทศ ประเทศไทยเกิดการขยายตัวทางระบบการเงิน เกิดการก่อหนี้ และการกู้เงินจากต่างประเทศ ซึ่งเป็นผลมา จาก              - พ.ศ ไทยเปิดระบบการเงินสู่สากล ตามพันธะสัญญาใน IMF              - พ.ศ ไทยประกาศปริวรรตเงินตราต่างประเทศ (การปริวรรต เงินตราต่างประเทศ หรือ International Monetary System คือ แนว ทางการควบคุมปริมาณเงิน โดยประเทศต่าง ๆ จะรักษาค่าของเงินให้ คงที่ จากการเทียบกับสิ่งของบางอย่าง ส่วนใหญ่ใช้โลหะเงินและ ทองคำ)              - พ.ศ ธนาคารพาณิชย์ตั้งกิจการ “วิเทศธนกิจไทย” ( BIBF – Bangkok International Banking Facilities คือ ธนาคารที่ทำธุรกรรม การกู้ยืมเงินจากต่างประเทศ แล้วนำมาให้กู้ทั้งภายในและนอกประเทศ ไทย หรือคือการเคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีนั่นเอง ) และในปี พ.ศ มีธนาคารพาณิชย์ 46 แห่งได้รับอนุญาตให้ดำเนินการ แต่รัฐบาล ไม่มีการดูแลที่มีประสิทธิภาพ

5 สาเหตุของวิกฤติเศรษฐกิจต้มยำกุ้ง
2. การขาดดุลบัญชีเดินสะพัด ประเทศไทยมีการพัฒนาการผลิตเพื่อ ส่งออก ที่เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว แต่ดุลบัญชี เดินสะพัดของไทยเกิดการขาดดุลอย่าง ต่อเนื่อง เพราะการส่งออกที่หดตัว

6 สาเหตุของวิกฤติเศรษฐกิจต้มยำกุ้ง
3. ฟองสบู่ในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ช่วง พ.ศ ถึง พ.ศ กิจการอสังหาริมทรัพย์ เกิดขึ้น และเติบโตมาก แต่มีการกู้ยืมเงินต่างประเทศ และการระดมทุน ในตลาดหลักทรัพย์เพื่อมาลงทุน ต่อมาราคาอสังหาริมทรัพย์เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผู้ประกอบการ จึงเข้ามาลงทุนกันจำนวนมากเพื่อเก็งกำไร ก่อให้เกิด “ภาวะ เศรษฐกิจฟองสบู่” ( Economic Bubble / Bubble Economy ) ภาวะที่ราคาอสังหาริมทรัพย์เพิ่มสูงกว่าความเป็นจริง และเพิ่ม อย่างต่อเนื่องสินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ – Non Performing Loan หรือ NPL ส่วนหนี้สูญ คือ หนี้ที่เราไม่สามารถทวงจาก ลูกหนี้ได้ เพราะลูกหนี้อาจหายสาบสูญ หรือเสียชีวิต )

7 สาเหตุของวิกฤติเศรษฐกิจต้มยำกุ้ง
   4. การดำเนินงานของสถาบัน การเงิน                   - พ.ศ ถึง พ.ศ รัฐบาลไม่ เชื่อมั่นสถาบันการเงินในประเทศ และสั่งปิด สถาบันการเงินไปถึง 58 สถาบัน - โดยรัฐบาลต้องใช้เงินสนับสนุน สถาบันการเงินเหล่านั้นถึง 6 แสนล้านบาท จาก “กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาสถาบัน การเงิน” ซึ่งเป็นหน่วยงานของธนาคารแห่ง ประเทศไทย

8 สาเหตุของวิกฤติเศรษฐกิจต้มยำกุ้ง
5. การโจมตีค่าเงินบาท โดยนักลงทุนต่างชาติ มีการจัดตั้งกองทุน “Hedge Funds” เพื่อโจมตีค่าเงินบาทไทย ธนาคารแห่งประเทศไทยจึงนำเงินทุนสำรองถึง 24,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐมาปกป้องค่าเงินบาท เมื่อเงินสำรองมีน้อยลง นายเริงชัย มะระกานนท์ ผู้ว่าธนาคารแห่งประเทศไทยจึงประกาศ “ลอยตัว ค่าเงินบาท” เมื่อ 2 ก.ค เป็นการเริ่มต้นวิกฤติ เศรษฐกิจต้มยำกุ้ง


ดาวน์โหลด ppt เมืองไทยกับกองทุน การเงินระหว่างประเทศ (IMF)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google