ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
เรื่อง ความต้านทานไฟฟ้า
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน เรื่อง ความต้านทานไฟฟ้า สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย นางสุพรรษา ทิพย์สิงห์
2
วงจรไฟฟ้า เมื่อต่อวงจรไฟฟ้าเราจะพบว่าปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ไหลในวงจร
จะทำให้หลอดไฟสว่าง ถ้าปริมาณกระแสมาก ก็จะทำให้หลอดไฟสว่างมาก
3
วงจรไฟฟ้า เราจึงสังเกตปริมาณไฟฟ้าโดยการดูที่ความสว่าง
ของหลอดไฟ แต่ถ้าต้องการให้ได้ค่าที่แน่นอนก็ต้อง นำแอมมิเตอร์มาต่ออนุกรมเข้ากับวงจร
4
วงจรไฟฟ้า ความต้านทานของลวดตัวนำ
สาเหตุที่หลอดไฟสว่างน้อยหรือมากนอกจากจะขึ้นอยู่กับ ปริมาณกระแสไฟฟ้าแล้ว สิ่งที่มีผลอีกอย่างก็คือ ความต้านทานของลวดตัวนำ
5
วงจรไฟฟ้า ความต้านทานที่เกิดขึ้น คือ สมบัติของลวดตัวนำที่ต้าน
การไหลของกระแสไฟฟ้ามีหน่วยเป็น โอห์ม (Ohm) มีสัญลักษณ์เป็นเส้นยักๆ ดังรูป
6
ตัวนำไฟฟ้า ตะกั่ว ทองแดง เงิน
ถ้าสารใดที่มีความต้านทานน้อยและยอมให้กระแส ไหลผ่านไปได้มากเรียกสารนั้นว่า ตัวนำไฟฟ้า เช่น เงิน ทองแดง ตะกั่ว (นอกจากนี้ยังมีสารโลหะอื่นๆด้วย)
7
ฉนวนไฟฟ้า ถ้าสารใดที่มีความต้านทานมากและยอมให้กระแสไหล
ผ่านไปได้น้อย จะเรียกสารนั้นว่า ฉนวนไฟฟ้า เช่น เซรามิค กระดาษ พลาสติก
8
ปัจจัยที่ส่งผลต่อความต้านทาน
1. ชนิดของลวดตัวนำ ส่วนใหญ่จะเป็นพวกโลหะมี ความต้านทานต่ำ โดย เงิน จะนำไฟฟ้าได้ดีที่สุดแต่ราคาสูง ในสายไฟตามบ้านเรือนจึงใช้ ทองแดง ในการทำลวดตัวนำ
9
ปัจจัยที่ส่งผลต่อความต้านทาน
2. ความยาวของลวดตัวนำยิ่งยาวมากเท่าไหร่ความต้านทานยิ่งมากตามไปด้วย ความต้านทานมาก ความต้านทานน้อย
10
ปัจจัยที่ส่งผลต่อความต้านทาน
3. พื้นที่หน้าตัดของลวดตัวนำ ยิ่งกว้างมากเท่าไหร่ ความต้านทานยิ่งลดลงจะแปรผกผันกับความต้านทาน
11
ปัจจัยที่ส่งผลต่อความต้านทาน
4. อุณหภูมิของลวดตัวนำ ถ้าลวดตัวนำที่ทำมาจากโลหะบริสุทธิ์หรือโลหะผสมเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ความต้านทานก็เพิ่มสูงขึ้นด้วย
12
ปัจจัยที่ส่งผลต่อความต้านทาน
แต่สารที่เป็นสารกึ่งตัวนำ เช่น ซิลิคอน โบรอน เออร์เมเนียม เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ความต้านทาน จะมีค่าลดลง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.