งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วิชาทักษะเครื่องสายสี 1 (Violin)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วิชาทักษะเครื่องสายสี 1 (Violin)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วิชาทักษะเครื่องสายสี 1 (Violin)
e-Learning วิชาทักษะเครื่องสายสี 1 (Violin)

2 บทที่ 1 การสอนให้มีการรับรู้ที่ไวเรื่องดนตรี
คือการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนได้ฟัง บทเพลงตามบทเรียนต่าง ๆ ก่อนที่จะทำการ เรียนบ่อย ๆ โดยวิธี การเปิดโอกาสให้เด็กได้ฟัง CD ที่เขาเรียนทุกวัน เมื่อเขารู้สึกคุ้นเคยกับเพลง ที่เขาต้องเรียนจะช่วยพัฒนาความสามารถในการเรียน ผู้เรียนจะรู้สึกมีความสุข ในการฝึกซ้อมไวโอลินจะซึมซับเข้าไปในใจของเขา โดยมีบทเพลงดังต่อไปนี้

3 บทเพลงของ Dr.Suzuki 1.Twinkle,Twinkle,Little Star Variations,S.Suzuki
2.Ligtly Row,Folk Song 3.Song of the Wind,Folk Song 4.Go Tell Aunt Rhody,Folk Song 5.O Come,Little Children,Folk Song 6.May Song,Folk Song

4 ... 7.Long,Long Ago,T.H.Bayly 8.Allegro,S.Suzuki
9.Perpetulal Motion, S.Suzuki 10.Allegretto, S.Suzuki 11.Andantino, S.Suzuki 12.Etude, S.Suzuki

5 การซ้อมคุณภาพเสียง สอนให้ผู้เรียนรู้จักฝึกซ้อมร้องโน้ตเพลง ผู้สอนจึงมี ความสำคัญในการนำเด็ก ร่วมเรียนรู้การออกเสียงให้ได้ คุณภาพเสียง โดยมีโน้ตเพลงให้อ่าน พร้อมทั้งร้องเสียง โน้ตดังนี้

6 โน้ตเพลง ภาพที่ 1 แสดงถึงบทฝึกการอ่านโน้ตเพลง twinkle(บทเรียนไวโอลินDr.Suzuki)

7 . ภาพที่ 2 แสดงถึงบทฝึกการอ่านโน้ตเพลงTwinkle(บทเรียนไวโอลินDr.Suzuki)

8 2/3 ภาพที่ 3 แสดงถึงบทฝึกการอ่านโน้ตเพลงที่ 2 และ 3(บทเรียนไวโอลินDr.Suzuki)

9 4/5 ภาพที่ 4 แสดงถึงบทฝึกการอ่านโน้ตเพลงที่ 4 และ 5(บทเรียนไวโอลินDr.Suzuki)

10 6/7 ภาพที่ 5 แสดงถึงบทฝึกการอ่านโน้ตเพลงที่ 6 และ 7(บทเรียนไวโอลินDr.Suzuki)

11 8/9 ภาพที่ 6 แสดงถึงบทฝึกการอ่านโน้ตเพลงที่ 8 และ 9(บทเรียนไวโอลินDr.Suzuki)

12 9 ภาพที่ 7 แสดงถึงบทฝึกการอ่านโน้ตเพลงที่ 9(บทเรียนไวโอลินDr.Suzuki)

13 10 ภาพที่ 8 แสดงถึงบทฝึกการอ่านโน้ตเพลงที่ 10(บทเรียนไวโอลินDr.Suzuki)

14 11 ภาพที่ 9 แสดงถึงบทฝึกการอ่านโน้ตเพลงที่ 11(บทเรียนไวโอลินDr.Suzuki)

15 12 ภาพที่ 10 แสดงถึงบทฝึกการอ่านโน้ตเพลงที่ 12(บทเรียนไวโอลินDr.Suzuki)

16 การสอนให้ผู้เรียนได้รู้จักและจดจำศัพท์และสัญลักษณ์ทางดนตรีเบื้องต้น
Accent เน้น Piano เบา Pianissimo เบามาก Pianississimo เบามากและอ่อนโยน Forte ดัง Fortissimo ดังมาก Fortississimo ดังเท่าที่จะทำได้ Forzando เล่นด้วยความแรงแล้วค่อยๆ ผ่อนเบาลง Sforzando แรงแบบกระแทกแล้วค่อยๆ ผ่อนเบาลง โดยความตั้งใจที่จะ แสดงถึงความเชี่ยวชาญในการแสดงดนตรีชิ้นนั้น

17 Mezzo piano ค่อนข้างจะเบา Mezzo forte ดังพอสมควร Rallentando, Ritenuto ค่อย ๆ ผ่อนจังหวะให้ช้าลง Introduction บทนำของเพลง Pause เรียกว่า “ศูนย์” หมายถึงจังหวะเสียงยามตามความพอใจ Coda ลงจบของบทเพลง Fine จบบทเพลง Cantata บทดนตรีที่มีการร้องเดี่ยวและหมู่ A tempo กลับไปใช้จังหวะเดิม

18 Cadenza บทบรรเลงเดี่ยวที่ผู้ประพันธ์เขียนขึ้น Concerto บทประพันธ์ดนตรีที่แสดงความสามารถของผู้เล่นเครื่องดนตรี เดี่ยวและวงออร์เคสต้า ซึ่งมีลักษณะของการเล่นรับสลับกันบางครั้งก็เป็นการแสดง เดี่ยวเครื่องดนตรีหลายชิ้น เช่น คอนแชร์โต้สำหรับไวโอลิน 2 คัน Mass ดนตรีที่จัดไว้สำหรับพิธีทางศาสนาโรมันคาทอลิก Opus ผลงานลำดับที่ เป็นคำมาจากภาษาละตินแปลว่า “ผลงาน” Opus ตามด้วยหมายเลขซึ่งแสดงลำดับผลงานของคีตกวีที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ เช่น Beethoven: in A flat major opus 1 หรือ op. 1 หมายถึง ผลงานชิ้นที่ 1 ที่ตีพิมพ์เผยแพร่ และถ้ามีชิ้นย่อยลงไปอีกก็ใช้ no. หรือ number เช่น opus.40, no. 2 เป็นต้น Crescendo การเพิ่มจากเสียงเบาไปหาดัง Diminuendo ทำเสียงลดลงทีละน้อย

19 Symphony บทประพันธ์ดนตรีลักษณะเดียวกับ sonata ที่ ประกอบด้วย 4 ท่อน หรือมากกว่านั้นแต่ใช้วงออร์เคสต้าบรรเลงเต็มวง Solo เดี่ยว เช่น violin solo หมายถึงการเดี่ยวไวโอลิน Sonata บทประพันธ์ดนตรีที่ประกอบด้วยหลายท่อนหรือกระบวนที่ แตกต่างกัน ซึ่งทั่วไปประกอบด้วย 4 ท่อน ท่อนที่ 1. An allegro มี ชีวิตชีวา ท่อนที่ 2. A slow movement เป็นท่อนที่ช้า ท่อนที่ 3. A scherzo มีความรื่นเริงสบาย ๆ ท่อนที่ 4. An allegro มี ชีวิตชีวา ซึ่งจะมีเครื่องดนตรีน้อยกว่า symphoy ต่อไปนี้เป็นศัพท์ดนตรีบอกความช้าเร็วของจังหวะ ซึ่งมักจะปรากฎทั่วไปใน แผ่นเสียง คำบรรยายเพลงทุกชนิด และต้นฉบับ มีประโยชน์สำหรับบอก แนวทางคร่าว ๆ ให้ทราบถึงบรรยากาศของเพลง จังหวะทั่ว ๆ ไป แบ่งออกเป็น 3 พวก # ช้า - ปานกลาง - เร็ว

20 จำพวกช้าแบ่งออกเป็น Lento ช้ามากที่สุดในจำพวกช้าด้วยกัน Largo ช้ามากที่สุดเหมือนกัน แต่ไม่ช้าเท่า Lento Larghetto ช้ารองลงมาจาก Largo Adagio ช้ามาก Andante ช้าพอประมาณ Andantino ช้าพอประมาณ แต่เร็วกว่า Andante หรือเร็วที่สุด ในจำพวกช้าทั้งหมดนี้

21 จำพวกปานกลางมีอย่างเดียวคือ Moderato ปานกลางธรรมดา จำพวกเร็วแบ่งออกเป็น Allegretto เร็วพอสมควร Allegro เร็ว Vivace เร็วอย่างร่าเริง (เล่นแบบกระตุกๆ) Presto เร็วมาก Prestissimo เร็วจี๋

22 ศัพท์ต่อไปนี้แสดงถึงความรู้สึกของจังหวะทำนอง Grave อย่างโศกเศร้า Maestoso อย่างสง่าผ่าเผย องอาจ Tempo giusto ธรรมดา - ปานกลาง Agitato อย่างร้อนรนตื่นเต้น Mosso อย่างว่องไว Con moto อย่างกระฉับกระเฉง มีชีวิตชีวา 


ดาวน์โหลด ppt วิชาทักษะเครื่องสายสี 1 (Violin)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google