งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประเด็นมุ่งเน้นยุทธศาสตร์ โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประเด็นมุ่งเน้นยุทธศาสตร์ โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ประเด็นมุ่งเน้นยุทธศาสตร์ โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ

2 หลักระบาดวิทยา = อริยสัจของพุทธะ
ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค 1) พบผู้ป่วยโรค ติดเชื้อไวรัสซิกา (บึงนาราง ทับคล้อ เมือง ดงเจริญ บางมูลนาก) 2) พบผู้ป่วยสงสัยโรคไข้หวัดนก (สามง่าม บึงนาราง เมือง) โรคติดเชื้อไวรัสซิกา - ค่า Vector Index ที่สูง โรคไข้หวัดนก - สัตว์ปีกป่วยตายผิดปกติ โรคติดเชื้อไวรัสซิกา - ควบคุมลูกน้ำยุงลาย โรคไข้หวัดนก - เฝ้าระวังการสัมผัสสัตว์ปีกป่วยตายผิดปกติในคน - มี CPG คู่มือมาตรฐานการรักษา - การบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้อง - ความพร้อมในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน การสื่อสารความเสี่ยงทุกระดับ ควบคุมพาหะได้ตามเกณฑ์ Epidemiology Investigation &Study Epidemiology Surveillance Epidemiology Control Epidemiology Action 02/05/62

3 ¤ ยุทธศาสตร์ระดับประเทศ
¤ ผู้บริหารกำหนดเป็นยุทธศาสตร์/นโยบายระดับจังหวัด (ผู้ว่าราชการจังหวัดพิจิตร กำหนด โรคติดต่อจากยุงลาย และ ไข้หวัดนก) หมวด 1 การนำ

4 รณรงค์ควบคุมลูกน้ำยุงในพื้นที่ 3 เดือน/ครั้ง
ทีม SAT มีการคืนข้อมูลให้ท้องถิ่น อบรมหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรค (CDCU) ซ้อมแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านโรคติดต่ออุบัติใหม่ ทั้ง รพ.รัฐ/เอกชน ประชุมคณะกรรมการโรคติดต่อระดับจังหวัด กรณีเกิดการระบาดมี Activated EOC หมวด 2 วางแผน

5 หมวด 3 ลูกค้า ¤ ประชาชนในจังหวัดพิจิตรทุกกลุ่มอายุ
¤ สถานพยาบาล(รัฐ/เอกชน) ¤ บุคลากรสาธารณสุข หมวด 3 ลูกค้า

6 พบการระบาดในช่วงเดือนมิถุนายน ถึง กันยายน
เสียชีวิต 1 ราย อ.โพธิ์ประทับช้าง หมวด 4 ชุดข้อมูล ความรู้ (สถานการณ์โรคติดต่อจากยุงลาย) พบการระบาดในช่วงเดือนมิถุนายน ถึง กันยายน หมวด 4 ชุดข้อมูล ความรู้ (สถานการณ์โรคติดต่อที่นำโดยยุง)

7 หญิงตั้งครรภ์ติดเชื้อไวรัสซิกา 3 ราย (คลอดแล้ว 2 ราย)
อัตราป่วยต่อแสนประชากรโรคไข้เลือดออก จำแนกรายอำเภอ จังหวัดพิจิตร พ.ศ (1 มกราคม -19 ตุลาคม 2560) เดือนสิงหาคม ลำดับที่ 5 ของประเทศ อัตราป่วยต่อแสนประชากรโรคติดเชื้อไวรัสซิกา จำแนกรายอำเภอ จังหวัดพิจิตร พ.ศ (1 มกราคม -19 ตุลาคม 2560) หญิงตั้งครรภ์ติดเชื้อไวรัสซิกา 3 ราย (คลอดแล้ว 2 ราย)

8 ผลการตรวจไวรัสซิกาทางห้องปฏิบัติการของลูกน้ำยุง
เก็บตัวอย่างจาก หมู่ที่ 1,2 ตำบลบึงนาราง อำเภอบึงนาราง ระหว่างวันที่ 4-5 กรกฎาคม 2560 ลำดับ สถานที่เก็บ จำนวน (ตัวอย่าง) ผลการตรวจ หมายเหตุ (พบในลูกน้ำยุง) Negative Positive 1 บ้านผู้ป่วย 7 5 2 Aedes aegypti ละแวกรอบบ้าน 26 25 Culex quinquefasciatus รวม 33 30 3

9 มาตรการควบคุมการระบาดโรคติดเชื้อจากยุงลาย
1. จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) ระดับจังหวัด อำเภอ และมีการประชุมอย่างต่อเนื่อง 2. ภายใน 7 วัน หมู่บ้านที่พบผู้ป่วย ค่า HI ค่า CI ต่ำกว่า ร้อยละ 10 ภายใน 14 วัน ตำบลที่พบผู้ป่วย ค่า HI ค่า CI ต่ำกว่า ร้อยละ 10 ภายใน 28 วัน อำเภอที่พบผู้ป่วย ค่า HI ค่า CI ต่ำกว่า ร้อยละ 10 3. มาตรการหลัก และทำซ้ำทุก 7 วัน - 0 หมายถึง วันแรก(วันที่ 0) ที่ทราบว่ามีผู้ป่วย จะต้องทำการควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และยุงตัวแก่ในบ้านผู้ป่วย และรัศมี 100 เมตร โดยทีม SRRT - 3 หมายถึง ดำเนินการซ้ำในพื้นที่ที่เกิดโรคอีกครั้ง ในวันที่ (3) - 7 หมายถึง ดำเนินการซ้ำในพื้นที่ที่เกิด โรคอีกครั้ง ในวันที่ (7) และทำซ้ำทุก 7 วัน จนครบ 28 วัน 4. ภายใน 4 สัปดาห์ ไม่พบผู้ป่วยรายใหม่

10 สถานการณ์ระดับโลก สถานการณ์ประเทศไทย/พิจิตร
2547 2548 2549 ผู้ป่วยยืนยัน 25 ราย เสียชีวิต 17 ราย 19 จังหวัด ผู้ป่วยเสียชีวิต ราย อ.ทับคล้อ (พ.ศ. 2549) ผู้ป่วยยืนยัน 859 ราย เสียชีวิต 453 ราย 16 ประเทศ ก.พ.60 พบผู้ป่วยสงสัย (Suspected case) 20 ราย อำเภอสามง่าม (18 ราย) เมือง (1 ราย) บึงนาราง(1 ราย) หมวด 4 ชุดข้อมูล ความรู้ (สถานการณ์โรคไข้หวัดนก)

11 พบการระบาดตั้งแต่ สัปดาห์ที่ 33-40 (13 สิงหาคม ถึง 7 ตุลาคม 2560
สัดส่วนผู้ป่วย ILI จังหวัดพิจิตร จำแนกรายสัปดาห์ พ.ศ. 2560 พบการระบาดตั้งแต่ สัปดาห์ที่ (13 สิงหาคม ถึง 7 ตุลาคม 2560

12 ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
อัตราป่วยต่อแสนประชากรโรคไข้หวัดใหญ่ จำแนกรายอำเภอ จังหวัดพิจิตร พ.ศ (1 มกราคม -19 ตุลาคม 2560) การระบาดเป็นกลุ่มก้อนโรคไข้หวัดใหญ่ จังหวัดพิจิตร ปีงบประมาณ วันที่ 19 ตุลาคม 2560 ครั้งที่ ระบาดวันที่ ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ สถานที่ 1 20 ตุลาคม 2559 พบเชื้อไข้หวัดใหญ่ ชนิด A H1N1 เรือนจำจังหวัดพิจิตร 2 23 มิถุนายน 2560 ไม่พบเชื้อโรคไข้หวัดใหญ่ 3 11 สิงหาคม 2560 4 17 ตุลาคม 2560 พบเชื้อไข้หวัดใหญ่ ชนิด A H3

13 ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ
การบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้อง เช่น พรบ.โรคติดต่อ พ.ศ.2558, การเฝ้าระวังป้องกัน และควบคุมโรค ทั้งในสัตว์และคน ระบบนิเวศน์ (One Health) มีเครือข่ายการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรค มีความพร้อมในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านโรคติดต่ออุบัติใหม่อย่างมีประสิทธิภาพ การสื่อสารความเสี่ยงทุกระดับ ต้นน้ำ ต้องไม่ป่วย โรคติดต่อหรือ out break สามารถควบคุมการระบาดได้ (ตามคำนิยามของโรคนั้นๆ หรือ 2 เท่าของระยะฟักตัวที่ยาวที่สุด) กลางน้ำ ควบคุมการระบาดได้ มี CPG คู่มือมาตรฐานการรักษาที่เกี่ยวข้องกับโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ มีทำเนียบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญระดับจังหวัด และบูรณาการรักษา แบบสหวิชาชีพ ลดการตีตรา หรือเลือกปฏิบัติ ต่อผู้ป่วยโรคโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ ทุกชนิด ปลายน้ำ ลดภาวะแทรกซ้อน ความพิการ ตาย หมวด 6 กระบวนการ

14 โรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ หรือ outbreak สามารถควบคุมการระบาดได้
โรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ หรือ outbreak สามารถควบคุมการระบาดได้ ตามคำนิยามของโรคนั้นๆ หรือ 2 เท่า ของระยะฟักตัวที่ยาวที่สุด หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ


ดาวน์โหลด ppt ประเด็นมุ่งเน้นยุทธศาสตร์ โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google