ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSilvio Patti ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
2
ศาล ทำหน้าที่.... ศาลปกครอง ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยุติธรรม ศาลทหาร
ศาลปกครอง....คดีพิพาทระหว่างหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่น หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐกับเอกชนกรณีหนึ่ง และข้อพิพาทระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐด้วยกันอีกกรณีหนึ่ง ศาลรัฐธรรมนูญ..พิจารณาวินิจฉัยว่าร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญหรือร่างข้อบังคับการประชุมของสภาผู้แทนราษฎรของวุฒิสภา หรือของรัฐสภา ที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา หรือรัฐสภา แล้วแต่กรณี ให้ความเห็นชอบแล้ว แต่ยังมิได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา มีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ หรือตราขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือไม่ ศาล ทำหน้าที่.... ศาลปกครอง ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยุติธรรม ศาลทหาร 2
3
ที่ไม่ได้อยู่ แยกเป็น 4 ประเภท คือ
ศาลทหาร พิจารณาพิพากษาลงโทษผู้กระทำความผิดอาญาซึ่งเป็นบุคคลที่อยู่ในอำนาจศาลทหาร ที่ไม่ได้อยู่ แยกเป็น 4 ประเภท คือ 1.ได้แก่คดีที่บุคคลที่อยู่ในอำนาจศาลทหารกับบุคคลที่ไม่อยู่ในอำนาจศาลทหารกระทำผิดด้วยกัน 2.ได้แก่คดีที่เกี่ยวพันกับคดีที่อยู่ในอำนาจศาล พลเรือน 3.ได้แก่คดีที่ต้องดำเนินในศาลเยาวชนและครอบครัว เนื่องจากอายุของผู้กระทำความผิด ซึ่งคงจะมีแต่เฉพาะนักเรียนทหาร 4.ได้แก่คดีที่ศาลทหารเห็นว่าไม่อยู่ในอำนาจศาลทหาร คดีประเภทนี้คงจะต้องประกอบด้วยหลักเกณฑ์ 2 ประการ ประการแรก คือ ได้มีการฟ้องคดียังศาลทหารแล้ว ประการที่สอง คือ เป็นคดีที่ไม่เข้าหลักเกณฑ์ในสามประเภทแรก 3
4
ศาลยุติธรรม ศาลยุติธรรม เป็นศาลที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวง เว้นแต่คดีที่รัฐธรรมนูญหรือกฎหมายบัญญัติให้อยู่ในอำนาจของศาลอื่น ศาลยุติธรรมมี 3 ชั้น คือ ศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ ได้แก่ ศาลอุทธรณ์ และศาลอุทธรณ์ภาค ศาลฎีกา ซึ่งเป็นศาลยุติธรรมสูงสุด ที่มีอยู่เพียงศาลเดียว
5
อัยการสูงสุดเป็นผู้ฟ้องคดีอาญา ผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐระดับสูง ต่อศาลฎีกา แผนกคดีอาญาของผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง
7
ทบทวน
8
1.พิจารณาข้อความต่อไปนี้
รัฐธรรมนูญ คือ กติกาในการบริหารประเทศ รัฐธรรมนูญไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ Magna Carta เป็นรัฐธรรมนูญของกรีก รัฐธรรมนูญฉบับแรกของไทยพระราชทานโดย รัชกาลที่ 7 รัฐธรรมนูญที่กำลังมีเป็นฉบับที่ 20 8
9
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
รัฐธรรมนูญ คือ กติกาในการบริหารประเทศ รัฐธรรมนูญไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ Magna Carta เป็นรัฐธรรมนูญของกรีก รัฐธรรมนูญฉบับแรกของไทยพระราชทานโดย รัชกาลที่ 7 รัฐธรรมนูญที่กำลังมีเป็นฉบับที่ 20 9
10
1. ข้อใด ไม่ใช่ ลักษณะของกฎหมายรัฐธรรมนูญ
1. เป็นกติกาในการปกครอง 2. สามารถยกเลิกแก้ไขได้ 3. มีรายละเอียดเกี่ยวกับการเลือกผู้นำ 4. ไม่จำเป็นต้องตีความ
11
2. ข้อใด ไม่ใช่ เนื้อหาที่มีในรัฐธรรมนูญ
1. สิทธิ หน้าที่ของประชาชน 2. การพิจารณาตัดสินคดีความ 3. วิธีการเลือกตั้ง 4. การแต่งตั้งองค์กรอิสระ
12
3. ผู้เป็นประธานคณะกรรรมการร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับที่ 20 คือ
1. นายบวรศักดิ์ อุวรรณโณ 2. นายมีชัย ฤชุพันธ์ 3. นาวาอากาศตรีประสงค์ สุ่นศิริ 4. นายวิษณุ เครืองาม
13
4. องค์กรอิสระที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญมีหลายองค์กร ยกเว้น ข้อใด
1. กกต. 2. ป.ป.ช 3. ส.ต.ง 4. กสม.
14
5. จากรัฐธรรมนูญฉบับที่ 20 กำหนดว่าศาลจะมีกี่ศาล
1. 1 ศาล 2. 2 ศาล 3. 3 ศาล 4. 4 ศาล
15
6. ข้อใด ไม่ใช่ ลักษณะของกฎหมายรัฐธรรมนูญ
1. รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด 2. รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายหลัก 3. รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายที่มีความคงทนถาวร ไม่สามารถแก้ไขได้ 4. กฎหมายใด จะขัด หรือ แย้งต่อรัฐธรรมนูญไม่ได้
16
7. กรณีที่มี บทบัญญัติที่อาจจะ ขัดแย้ง กับ กฎหมายรัฐธรรมนูญ จะดำเนินการอย่างไร
1.ประกาศใช้ได้ ถ้าพระเจ้าแผ่นดินเห็นชอบ 2.ประกาศใช้ได้ ถ้าเพื่อประโยชน์ของประชาชน 3.ประกาศใช้ได้ ถ้าศาลรัฐธรรมนูญชี้ขาดแล้วว่าไม่ขัด 4. ต้องยกเลิก ทันที แม้มีบางคนสงสัย
17
8.ที่มาของกฎหมายรัฐธรรมนูญ ข้อใด ไม่ถูกต้อง
ประมุขของรัฐมอบให้ การกระทำของราษฎรโดยตรง การปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง การเปลี่ยนผู้นำประเทศ หรือ คณะผู้นำ
18
9.ที่มาของกฎหมายรัฐธรรมนูญ ในประเทศไทย คือ...
ประมุขของรัฐมอบให้ การกระทำของราษฎรโดยตรง การปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง การเปลี่ยนผู้นำประเทศ หรือ คณะผู้นำ
19
10. การเรียกร้องให้มีกฎหมายรัฐธรรมนูญ ในประเทศไทย ตรงกับ ปี พ.ศใด
ร.ศ.103 หรือ พ.ศ 2427 ร.ศ.112 หรือ พ.ศ 2436 รศ.113 หรือ พ.ศ. 2437 ร.ศ.130 หรือ พ.ศ.2454
20
11.การเรียกร้องให้มีกฎหมายรัฐธรรมนูญ ในประเทศไทย เริ่มขึ้นเมื่อสมัยใด...
รัชกาลที่ 4 รัชกาลที่ 5 รัชกาลที่ 6 รัชกาลที่ 7
21
12.เหตุผลที่ ร. 5 เห็นว่า ยังไม่ใช่เวลาที่เหมาะสมในการพระราชทานกฎหมายรัฐธรรมนูญ ...
ยังไม่มีรัฐธรรมนูญ ยังไม่มีการเลือกตั้ง ยังไม่มีงบประมาณเพียงพอ ยังไม่มีการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพ
22
13.เหตุผลที่ ร. 7 ยังไม่พระราชทานกฎหมายรัฐธรรมนูญ ...
ยังร่างรัฐธรรมนูญไม่เสร็จเกิดปฏิวัติก่อน คนไทย ยังไม่มีจิตสำนึกทางการเมือง คณะอภิรัฐมนตรีทูลคัดค้าน สถานการณ์โลกกำลังเข้าสู่ภาวะสงคราม
23
14.ข้อใดผิด ... ประกาศเมื่อ 27 มิย 2475
รัชกาลที่ 7 เป็นผู้พระราชทานรัฐธรรมนูญ เป็นฉบับชั่วคราว เพื่อรอฉบับจริง รัชกาลที่ 7 เป็นกษัตริย์ที่อยู่ใต้รัฐธรรมนูญ
24
15.ประเทศใด ได้ชื่อว่า มีรัฐธรรมนูญใช้เป็นประเทศแรก
กรีก โรมัน อังกฤษ สหรัฐอเมริกา
25
16.ประเทศใด มีรัฐธรรมนูญที่เป็นลายลักษณ์อักษร
16.ประเทศใด มีรัฐธรรมนูญที่เป็นลายลักษณ์อักษร กรีก โรมัน อังกฤษ สหรัฐอเมริกา
26
17.รัฐธรรมนูญแบบจารีดประเพณี
กรีก โรมัน อังกฤษ สหรัฐอเมริกา
27
18. รัฐธรรมนูญของอังกฤษได้มาโดยวิธีใด
1.กษัตริย์พระราชทาน 2.การปฏิวัติ 3. การเรียกร้องของประชาชน 4. วิวัฒนาการมาเป็นลำดับ
28
19. เหตุใดจึงกล่าวว่า กฎหมายรัฐธรรมนูญ เป็นสิ่งที่มั่นคงถาวร
1.เกิดขึ้นพร้อมกับการเกิดขึ้นของรัฐ 2. ไม่สามารถแก้ไขได้ 3. แก้ไข ได้ แต่ยุ่งยาก 4. เกิดชึ้นจากความต้องการของประชาชน
29
20. รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันของไทย (ตค59)เป็นฉบับที่ เท่าไหร่
30
21. รัฐธรรมนูญฉบับปัจุบันของไทย (ตค59)เป็น คือ ฉบับใด
31
22. รัฐธรรมนูญฉบับปัจุบันของไทย (ตค59) ชื่อว่า
1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557
32
23. รัฐธรรมนูญ จะประกาศได้ใช้เมื่อใด
1. ผ่านการลงประชามติของประชาชน 2. มีการเลือกตั้ง และมีนายกรัฐมนตรีคนใหม่ 3. ผ่านความเห็นชอบของ ครม 4. พระเจ้าอยู่หัวทรงลงพระปรมาภิไธย
33
24. แม่น้ำ 5 สาย หรือ องค์กรทั้ง 5 องค์กรที่มีบทบาทเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ
1. สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) 2. คณะรัฐมนตรี (ครม.) 3. สภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) 4 คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ 5. คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.)
34
25. แม่น้ำ 5 สาย หรือ องค์กรทั้ง 5 องค์กรที่มีบทบาทเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ
1. สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) 2. คณะรัฐมนตรี (ครม.) 3. สภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) 4 คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ 5. คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.)
35
แม่น้ำ 5 สาย 1. สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) 2. คณะรัฐมนตรี (ครม.)
1. สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) 2. คณะรัฐมนตรี (ครม.) 3. สภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) 4 คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ 5. คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.