ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยEric Ribas ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ
ครั้งที่ ๒/๒๕๕๖ วันพฤหัสบดีที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๖ ณ ห้องประชุม ๑ ชั้น ๑๔ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน)
2
วาระการประชุม ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ระเบียบวาระที่ ๒ เรื่องรับรองรายงานการประชุม ครั้งที่ ๑/๒๕๕๖ ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องเพื่อทราบ ๓.๑ ร่างคำสั่งคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำที่ ๑/๒๕๕๖ เรื่อง แต่งตั้งคณะทำงานทางวิชาการ ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินงาน ๔.๒ ขอบเขตการดำเนินงานภายใต้คณะอนุกรรมการในอำนาจหน้าที่ตามคำสั่งแต่งตั้งข้อ ๒.๑ และ ๒.๓ ๔.๓ หารือการแต่งตั้งคณะทำงานเฉพาะกิจเพิ่มเติม ๔.๔ ร่างรายงานผลการวิเคราะห์สถานการณ์น้ำรายสัปดาห์ ระเบียบวาระที่ ๕ เรื่องอื่น ๆ (ถ้ามี) 2
3
ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องเพื่อพิจารณา
ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินงาน การส่งรายชื่อคณะทำงาน ๒) การส่งรายชื่อผู้แทนคณะอนุกรรมการ 3 3
4
ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องเพื่อพิจารณา
ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๒ ขอบเขตการดำเนินงานภายใต้คณะอนุกรรมการในอำนาจหน้าที่ตาม คำสั่งแต่งตั้งข้อ ๒.๑ และ ๒.๓ อำนาจหน้าที่ ๒.๑ สนับสนุนข้อมูลเพื่อใช้ในการประเมินสถานการณ์น้ำ และนำส่งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ทุกวันพุธ เวลา ๑๐.๐๐ น. จนกว่าจะมีการเปลี่ยนแปลง ๒.๓ ประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานในคณะอนุกรรมการ 4 4
5
ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องเพื่อพิจารณา
ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๓ หารือการแต่งตั้งคณะทำงานเฉพาะกิจเพิ่มเติม คณะทำงานเฉพาะกิจ ๓ คณะ ประกอบด้วย คณะทำงานปรับปรุงประสิทธิภาพการระบายน้ำในกรุงเทพมหานคร คณะทำงานการปรับปรุงประสิทธิภาพการบริหารจัดการฝายในลุ่มน้ำชี–มูล คณะทำงานเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำด้วยเครื่องผลักดันน้ำ 5 5
6
ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องเพื่อพิจารณา
ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๔ การวิเคราะห์สถานการณ์น้ำรายสัปดาห์ ติดตามสถานการณ์ปัจจุบัน การคาดการณ์สถานการณ์น้ำในสัปดาห์หน้า วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์น้ำประจำสัปดาห์ 6 6
7
สรุปสถานการณ์ปัจจุบัน
14 สิงหาคม 2556
8
รายงานสถานการณ์ฝน
9
ที่มา: กรมอุตุนิยมวิทยา
แผนภาพฝนสะสมรายวัน (7-9 ส.ค. 56) 7 ส.ค. 56 8 ส.ค. 56 9 ส.ค. 56 ที่มา: กรมอุตุนิยมวิทยา
10
แผนภาพฝนสะสมรายวัน (12-13 ส.ค. 56)
12 ส.ค. 56 13 ส.ค. 56 ที่มา: กรมอุตุนิยมวิทยา
11
แผนภาพฝนสะสมระหว่างวันที่ 7-13 ส.ค. 56
ที่มา: กรมอุตุนิยมวิทยา
12
รายงานสถานการณ์น้ำในเขื่อน
13
สถานการณ์น้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่
ปริมาตรน้ำในอ่างฯ 38,209 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็นร้อยละ 54 (ปริมาตรน้ำใช้การได้ 14,710 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็นร้อยละ 21) ปริมาตรน้ำในอ่างฯ เทียบกับปี 2555 (40,151 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็นร้อยละ 57) น้อยกว่าปี 2555 จำนวน 1,942 ล้าน ลบ.ม. ปริมาณน้ำไหลลงอ่างฯ จำนวน ล้าน ลบ.ม. ปริมาณน้ำระบายจำนวน ล้าน ลบ.ม. สามารถรับน้ำได้อีก 31,942 ล้าน ลบ.ม. ที่มา : กรมชลประทาน, การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
14
สถานการณ์น้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่และขนาดกลาง
ปริมาตรน้ำในอ่างฯ 40,636 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็นร้อยละ 55 (ปริมาตรน้ำใช้การได้ 16,837 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็นร้อยละ 23) ปริมาตรน้ำในอ่างฯ เทียบกับปี 2555 (42,144 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็นร้อยละ 57) น้อยกว่าปี 2555 จำนวน 1,508 ล้าน ลบ.ม. ปริมาณน้ำไหลลงอ่างฯ จำนวน ล้าน ลบ.ม. ปริมาณน้ำระบาย จำนวน ล้าน ลบ.ม. สามารถรับน้ำได้อีก 33,888 ล้าน ลบ.ม. ที่มา : กรมชลประทาน, การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
15
ปริมาณน้ำกักเก็บในรอบ 10 ปี – เขื่อนภูมิพล
4,376 mcm (33%) 14/8/56 ที่มา : กรมชลประทาน, การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
16
ปริมาณน้ำไหลลงอ่างสะสมในรอบ 10 ปี - เขื่อนภูมิพล
610 mcm ,14/8/56 ที่มา : กรมชลประทาน, การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
17
ปริมาณน้ำกักเก็บในรอบ 10 ปี - เขื่อนสิริกิติ์
4,103 mcm (43%) 14/8/56 ที่มา : กรมชลประทาน, การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
18
ปริมาณน้ำไหลลงอ่างสะสมในรอบ 10 ปี - เขื่อนสิริกิติ์
2,023 mcm ,14/8/56 ที่มา : กรมชลประทาน, การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
19
ปริมาณน้ำกักเก็บในรอบ 10 ปี - เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
114 mcm (15%) 14/8/56 ที่มา : กรมชลประทาน, การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
20
ปริมาณน้ำไหลลงอ่างสะสมในรอบ 10 ปี - เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
194 mcm ,14/8/56 ที่มา : กรมชลประทาน, การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
21
ปริมาณน้ำกักเก็บในรอบ 10 ปี - เขื่อนวชิราลงกรณ
5,774 mcm (65%) 14/8/56 ที่มา : กรมชลประทาน, การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
22
ปริมาณน้ำไหลลงอ่างสะสมในรอบ 10 ปี - เขื่อนวชิราลงกรณ
2,776 mcm ,14/8/56 ที่มา : กรมชลประทาน, การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
23
ปริมาณน้ำกักเก็บในรอบ 10 ปี - เขื่อนศรีนครินทร์
13,192 mcm (74%) 14/8/56 ที่มา : กรมชลประทาน, การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
24
ปริมาณน้ำไหลลงอ่างสะสมในรอบ 10 ปี - เขื่อนศรีนครินทร์
1,995 mcm ,14/8/56 ที่มา : กรมชลประทาน, การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
25
รายงานสถานการณ์น้ำท่า
26
แม่น้ำสงคราม ต.โพนงาม อ.อากาศอำนวย จ.สกลนคร
แม่น้ำสงคราม ต.โพนงาม อ.อากาศอำนวย จ.สกลนคร ม.รทก. (14/8/ น.) 136.28
27
แม่น้ำสงคราม ต.ห้วยหลัว อ.บ้านม่วง จ.สกลนคร
แม่น้ำสงคราม ต.ห้วยหลัว อ.บ้านม่วง จ.สกลนคร ม.รทก. (14/8/ น.) 154.50
28
แม่น้ำป่าสัก ต.ท่าโรง อ.วิเชียรบุรี จ.เพชรบูรณ์
แม่น้ำป่าสัก ต.ท่าโรง อ.วิเชียรบุรี จ.เพชรบูรณ์ 67.50 63.42 ม.รทก. (14/8/ น.) 62.09
29
คลองพระปรง ต.ศาลาลำดวน อ.เมืองสระแก้ว จ.สระแก้ว
คลองพระปรง ต.ศาลาลำดวน อ.เมืองสระแก้ว จ.สระแก้ว 16.21 ม.รทก. (14/8/ น.)
30
ปริมาณน้ำไหลผ่านปี 56 = 751 ลบ.ม./วิ
14 สิงหาคม 2556 ปริมาณน้ำไหลผ่านปี 56 = ลบ.ม./วิ ปริมาณน้ำไหลผ่านปี 55 = ลบ.ม./วิ มากกว่าปี 55 = ลบ.ม./วิ ระดับน้ำ ม. (ต่ำกว่าตลิ่ง 5.74 ม.)
31
31 14 สิงหาคม 2556 ปริมาณน้ำไหลผ่านปี 56 = 275 ลบ.ม./วิ.
14 สิงหาคม 2556 ปริมาณน้ำไหลผ่านปี 56 = ลบ.ม./วิ. ปริมาณน้ำไหลผ่านปี 55 = ลบ.ม./วิ. น้อยกว่าปี 55 = ลบ.ม./วิ. ระดับน้ำเหนือเขื่อนปี ม. ท้ายเขื่อน 7.98 ม. ระดับน้ำเหนือเขื่อนปี ม. ท้ายเขื่อน ม. 31
32
ปริมาณน้ำไหลผ่านที่เขื่อนพระรามหก
ปริมาณน้ำไหลผ่านที่เขื่อนพระรามหก 6.82 cms (14/8/56)
33
สภาพน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาตอนบน (14 ส.ค.56 6.00 น.)
34
สภาพน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งตะวันออก-ตก (14 ส.ค.56 6.00 น.)
35
สรุป : รับน้ำเข้าพื้นที่ต่ำกว่าแผน
การรับปริมาณน้ำเข้าพื้นที่ - โครงการพัฒนาเกษตรพิษณุโลก สรุป : รับน้ำเข้าพื้นที่ต่ำกว่าแผน
36
การรับปริมาณน้ำเข้าพื้นที่ - โครงการกำแพงเพชรและโครงการท่อทองแดง
สรุป : รับน้ำเข้าพื้นที่ต่ำกว่าแผน
37
สรุป : รับน้ำเข้าพื้นที่สูงกว่าแผน
การรับปริมาณน้ำเข้าพื้นที่ - ทุ่งฝั่งตะวันออก สรุป : รับน้ำเข้าพื้นที่สูงกว่าแผน
38
สรุป : รับน้ำเข้าพื้นที่สูงกว่าแผนเล็กน้อย
การรับปริมาณน้ำเข้าพื้นที่ - ทุ่งฝั่งตะวันตก สรุป : รับน้ำเข้าพื้นที่สูงกว่าแผนเล็กน้อย
39
รายงานสถานการณ์ฝนในกทม.
42
รายงานสถานการณ์น้ำทะเล
43
ระดับน้ำทะเลคาดการณ์-หน้ากองบัญชาการกองทัพเรือ
- วันที่ 14 ส.ค. 56 น้ำขึ้นเต็มที่เวลา น. สูงกว่าระดับน้ำทะเลปานกลาง 1.53 เมตร น้ำลงเต็มที่เวลา น. ต่ำกว่าระดับน้ำทะเลปานกลาง 0.40 เมตร - วันที่ 15 ส.ค. 56 น้ำขึ้นเต็มที่เวลา น. สูงกว่าระดับน้ำทะเลปานกลาง 1.38 เมตร น้ำลงเต็มที่เวลา น. ต่ำกว่าระดับน้ำทะเลปานกลาง 0.57 เมตร - วันที่ 16 ส.ค. 56 น้ำขึ้นเต็มที่เวลา น. สูงกว่าระดับน้ำทะเลปานกลาง 1.33 เมตร น้ำลงเต็มที่เวลา น. ต่ำกว่าระดับน้ำทะเลปานกลาง 0.61 เมตร
44
ระดับน้ำทะเลคาดการณ์-ป้อมพระจุลจอมเกล้า
- วันที่ 14 ส.ค. 56 น้ำขึ้นเต็มที่เวลา น. สูงกว่าระดับน้ำทะเลปานกลาง 1.62 เมตร น้ำลงเต็มที่เวลา น. ต่ำกว่าระดับน้ำทะเลปานกลาง 0.86 เมตร - วันที่ 15 ส.ค. 56 น้ำขึ้นเต็มที่เวลา น. สูงกว่าระดับน้ำทะเลปานกลาง 1.42 เมตร น้ำลงเต็มที่เวลา น. ต่ำกว่าระดับน้ำทะเลปานกลาง 1.02 เมตร - วันที่ 16 ส.ค. 56 น้ำขึ้นเต็มที่เวลา น. สูงกว่าระดับน้ำทะเลปานกลาง 1.09 เมตร น้ำลงเต็มที่เวลา น. ต่ำกว่าระดับน้ำทะเลปานกลาง 1.02 เมตร
45
รายงานสถานการณ์น้ำในแม่น้ำโขง
46
ระดับน้ำในลุ่มน้ำโขง มีระดับน้ำสถานการณ์อยู่ในเกณฑ์ปกติ แนวโน้มลดลง
สถานการณ์น้ำแม่น้ำโขง สถานการณ์น้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำโขง (วันที่ 13 ส.ค.56) อ.เชียงแสน จ.เชียงราย ระดับตลิ่ง ม. ระดับน้ำ ม. ต่ำกว่าตลิ่ง 6.09 ม. แนวโน้มลดลง อ.เชียงคาน จ.เลย ระดับตลิ่ง ม. ระดับน้ำ ม. ต่ำกว่าตลิ่ง 5.23 ม. แนวโน้มเพิ่มขึ้น อ.เมือง จ.หนองคาย ระดับตลิ่ง ม. ระดับน้ำ ม. ต่ำกว่าตลิ่ง 1.50 ม. แนวโน้มเพิ่มขึ้น อ.เมือง จ.นครพนม ระดับตลิ่ง ม. ระดับน้ำ ม. ต่ำกว่าตลิ่ง 2.07 ม. แนวโน้มเพิ่มขึ้น อ.เมือง จ.มุกดาหาร ระดับตลิ่ง ม. ระดับน้ำ ม. ต่ำกว่าตลิ่ง 2.17 ม. แนวโน้มเพิ่มขึ้น อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี ระดับตลิ่ง ม. ระดับน้ำ ม. ต่ำกว่าตลิ่ง ม. แนวโน้มเพิ่มขึ้น ระดับน้ำในลุ่มน้ำโขง มีระดับน้ำสถานการณ์อยู่ในเกณฑ์ปกติ แนวโน้มลดลง
47
สรุปสถานการณ์อุทกภัยและภัยแล้ง
สถานการณ์อุทกภัย (7-14 ส.ค.56) เกิดน้ำท่วมบางพื้นที่ใน 13 จังหวัด ประกอบด้วย บึงกาฬ หนองคาย เชียงใหม่ ลำปาง อำนาจเจริญ เชียงราย สุรินทร์ แม่ฮ่องสอน อุตรดิตถ์ อุดรธานี ตาก นครสวรรค์ มหาสารคาม สถานการณ์ภัยแล้ง ( 14 ส.ค.56) จังหวัดที่ยังคงมีการประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (ภัยแล้ง)จำนวน 6 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดตาก อุบลราชธานี บุรีรัมย์ นครราชสีมา ชัยภูมิ และประจวบคีรีขันธ์ รวม 90 อำเภอ 626 ตำบล 6,605 หมู่บ้าน ที่มา: กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
48
การคาดการณ์ในสัปดาห์หน้า
สรุปสถานการณ์น้ำและ การคาดการณ์ในสัปดาห์หน้า
49
การคาดการณ์ปริมาณฝนจากแบบจำลองสภาพอากาศ WRF (ความละเอียด 3x3 กม
H 11.4 15 ส.ค. 56 16 ส.ค. 56 17 ส.ค. 56 รายละเอียดเพิ่มเติม 55
50
การคาดการณ์ปริมาณฝนจากแบบจำลองสภาพอากาศ WRF (ความละเอียด 9x9 กม
18 ส.ค. 56 19 ส.ค. 56 H 7 20 ส.ค. 56 21 ส.ค. 56 56 รายละเอียดเพิ่มเติม 56
51
การคาดการณ์ฝน 3 เดือนล่วงหน้า
สิงหาคม-กันยายน-ตุลาคม 2556 (Initial: 1 jul 2013) ที่มา: ECMWF ที่มา: IRI ที่มา: APCC
52
คาดการณ์สถานการณ์น้ำในเขื่อนภูมิพล
คาดการณ์ 235 ล้าน ลบ.ม. กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนภูมิพล (ระยะสั้น) กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนภูมิพล (ระยะยาว) ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และกรมชลประทาน 62
53
คาดการณ์สถานการณ์น้ำในเขื่อนสิริกิติ์
คาดการณ์ 254 ล้าน ลบ.ม. กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนสิริกิติ์ (ระยะสั้น) กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนสิริกิติ์ (ระยะยาว) ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และกรมชลประทาน 63
54
คาดการณ์สถานการณ์น้ำในเขื่อนแควน้อย
กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนแควน้อย (ระยะยาว) ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และกรมชลประทาน
55
คาดการณ์สถานการณ์น้ำในเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ (ระยะยาว) ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และกรมชลประทาน
56
คาดการณ์สถานการณ์น้ำในเขื่อนอุบลรัตน์
คาดการณ์ ล้าน ลบ.ม. กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนอุบลรัตน์ (ระยะสั้น) กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนอุบลรัตน์ (ระยะยาว) ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และกรมชลประทาน
57
คาดการณ์สถานการณ์น้ำในเขื่อนลำปาว
กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนลำปาว (ระยะยาว) ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และกรมชลประทาน
58
คาดการณ์สถานการณ์น้ำในเขื่อนศรีนครินทร์
คาดการณ์ ล้าน ลบ.ม. กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนศรีนครินทร์ (ระยะสั้น) กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนศรีนครินทร์ (ระยะยาว) ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และกรมชลประทาน
59
คาดการณ์สถานการณ์น้ำในเขื่อนวชิราลงกรณ
คาดการณ์ ล้าน ลบ.ม. กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนวชิราลงกรณ (ระยะสั้น) กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนวชิราลงกรณ (ระยะยาว) ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และกรมชลประทาน
60
การวิเคราะห์และประเมิน สถานการณ์สมดุลน้ำประจำสัปดาห์
การวิเคราะห์และประเมิน สถานการณ์สมดุลน้ำประจำสัปดาห์
61
ผลการวิเคราะห์สมดุลน้ำ 1 พฤศจิกายน 2555
รอ update BK 1-11 25-31 ต.ค. 2555 BK 1-11 1-7 พ.ย. 2555
62
คาดการณ์ปริมาณน้ำท่า ในลุ่มน้ำเจ้าพระยา
คาดการณ์ปริมาณน้ำท่า ในลุ่มน้ำเจ้าพระยา รอ update
63
ระเบียบวาระที่ ๕ เรื่องอื่นๆ
ระเบียบวาระที่ ๕ เรื่องอื่นๆ ระเบียบวาระที่ ๕ เรื่องอื่น ๆ (ถ้ามี) สรุปข้อเสนอแนะจากที่ประชุมคณะอนุกรรมการเสนอต่อ กบอ. วันพฤหัสบดีที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๖ ประชุมคณะอนุกรรมการครั้งต่อไป วันที่ เวลา สถานที่ 82 82
64
จบการรายงาน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.